วันจันทร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

สมุนไพรร้กษาเบาหวานได้ดีกว่าและปลอดภัยด้วยเจียวกู้หลาน

เจียวกู้หลาน,เจียวกู่หลาน,เจียวกูหลาน เจียวกู้หลานจากธรรมชาติดีกับคุณ คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม
เจียวกู้หลาน ( เจียวกู้หลานป่า ) มีสรรพคุณบำรุงหลังจากบำบัดแล้วอวัยวะที่เสื่อมจะถูกฟื้นฟูดีกว่าสมุนไพรตัวอื่นๆ
เจียวกู้หลานธรรมชาติหรือเจียวกู้หลานป่า
 เจียวกู้หลานธรรมชาติให้คุณค่าสมุนไพรครบถ้วนกว่าน่าใช้กว่าราคาถูกกว่า ปลอดภัยจากสารเคมีเจือปน เจียวกู้หลานธรรมชาติจากยอดดอยของเชียงใหม่ ให้ประโยชน์ครบเครื่องกว่า ใช้บำรุงร่างกาย เพิ่มความแข็งแรงให้อวัยวะ ใช้เสริมยาหมอให้การรักษาของหมอดีขึ้นเหมาะสำหรับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพที่อยู่ในการดูแลของแพทย์ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในหลอดเลือดสูง หลอดเลือดตีบอุดตัน สมุนไพรในเจียวกู้หลานมีคุณสมบัติเป็นสารอาหารเสริมสามารถใช้คู่กับยาหมอได้ดีไม่ขัดแย้ง ไม่ลดหรือทำลายสรรพคุณของยาหมอเห็นผลการรักษาของหมอได้ชัดเจน สมุนไพรในเจียวกู้หลานธรรมชาติเหมาะสำหรับผู้ที่รักสุขภาพใช้ป้องกันเสริมสุขภาพให้แข็งแรงขึ้น ความเสื่อมของอวัยวะและขัดขวางการทำงานของอนุมูลอิสระ ปลอดภัยกว่าเจียวกู้หลานทั่วๆ ไป เพราะเป็นเจียวกู้หลานจากธรรมชาติไม่ใช้สารเคมีปรุงแต่งใดๆ เช่น สารเคมีป้องกันเชื้อรา สารเคมีป้องกันการบูดเน่า สารปรุงแต่งสี รสชาด และกลิ่น อันเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ค่าของเม็ดเลือดต่ำลง เจียวกู้หลานธรรมชาติให้ประโยชน์ครบในตัวของสมุนไพรที่คุณไม่จำเป็นต้องเติมหรือเสริมสมุนไพรใดๆให้การจ่ายเงินซื้อผลิตภัณฑ์ต้องเพิ่มขึ้นไป เช่นนำเจียวกู้หลานมาผสมกับสมุนไพรอื่น อาทิเช่น ชามิกซ์ ต่างๆ ทำให้คุณต้องจ่ายเงินมากขึ้นได้ผลเท่ากัน ชามิกซ์ส่วนใหญ่มีเจียวกู้หลานเป็นส่วนประกอบ
เจียวกู้หลาน,เจียวกู่หลาน,เจียวกูหลานหรือปัญจขันธ์
เจียวกู้หลาน,เจียวกู่หลาน,เจียวกูหลาน ( เจียวกู้หลานป่าจะให้สมุนไพรมากที่สุด ) มีสรรพคุณในการช่วยผู้ที่ป่วยเป็นเรื่องโรคเบาหวานได้ครบถ้วนกว่าสมุนไพรอื่นๆ  เจียวกู้หลาน ( เจียวกู้หลานป่า ) มีสรรพคุณบำรุงหลังจากบำบัดแล้วอวัยวะที่เสื่อมจะถูกฟื้นฟูดีกว่าสมุนไพรตัวอื่นๆ คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม สมุนไพรร้กษาเบาหวานต้วอื่น ๆ
เจียวกู้หลานได้รับการตรวจรับรองว่ามีคุณภาพและมีความปลอดภัยจากสถาบันสมุนไพรแห่งชาติ
ดูรายละเอียดหน้าของเจียวกู้หลาน คลิกที่นี่

   ข้อมูลที่คนทั่วๆไป มักจะสืบค้นเมื่อได้รับการถ่ายทอดมา หากเราเป็นผู้ที่มีการวิเคราะห์เราควรนำข้อมูลมาศึกษาก่อนที่เราจะตัดสินใจใชั สมุนไพรใด สมุนไพรหนึ่ง
การรักษาโรคต่างๆ หมอจะมีกระบวนการจัดการ เป็นขั้นเป็นตอน เป็นศิลปะการรักรักดังนั้นเรามักจะได้เห็นที่คลีนิคของคุณหมอกับคำว่า ประกอบโรคศิลป ต่อท้ายเสมอ ๆ
การทำให้โรคใดโรคหนึ่งหาย หลักการตามการรักษาของคุณหมอจะมีหลักการพอสังเขปคือ
1. หยุดอาการที่ทำให้เจ็บปวด ณ ขณะนั้น ยาที่หมอจ่ายจะทำให้เราสบายขึ้นชั่วขณะ
ใช้เจียวกู้หลานเสริมยาหมอ ให้อาการเจ็บปวดดีขึ้นเจ็บน้อยเจียวกู้หลานมีสมุนไพรต้านการอักเสบ
2. เมื่อวินิจฉัยรู้ว่าเป็นโรคอะไรก็จะให้ยารักษาโรคนั้นๆ 
ใช้เจียวกู้หลานเสริมยาหมอ ช่วยให้ยาหมอออกฤทธิ์ดีขึ้น ส่วนหนึ่งที่ไปปิดกั้นไม่ให้ยาทำงานได้เต็มที่หลักๆ คือ อนุมูลอิสระสมุนไพรในเจียวกู้หลานจะทำหน้าที่เคลียพื้นที่
3. ให้ยาป้องกันอาการข้างเคียงของโรค บางครั้งการรักษาไม่ค่อยได้ผลดีสืบเนื่องมาจากเกิดอาการข้างเคียงเข้ามากระทบอาการหลักเลยหนักกว่าเดิมยาหมอแทบจะคุมไม่อยู่
ใช้เจียวกู้หลานเสริมยาหมอ อาการข้างเคียงบางชนิดไปมีผลโดยตรงกับยา สมุนไพรในเจียวกู้หลานจะไปทำให้ส่วนที่ควบคุมนั้นๆ ให้อวัยวะทำงานได้เต็มประสิทธิภาพมากขึ้นจึงมีผลต้านสิ่งที่ไปกระทบกับยากำจัดออกไปยาจึงรักษาได้ผลดีขึ้น
4. ให้ยาป้องกันอาการที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นการคุมอาการข้างเคียงไม่ให้เกิดแต่คุมได้ไม่นานหมอจะให้เลิกทานยาเพราะยาควบคุมอาการข้างเคียงมีอันตรายต่อตับ บางครั้งเลยทำให้การรักษาได้ผลช้าหรือใช้เวลานานมาก
ใช้เจียวกู้หลานเสริมยาหมอ สมุนไพรในเจียวกู้หลานเรียนแบบธรรมชาติ ภูมิต้านทานที่พร่องไปจะถูกเติมเต็มให้ดีขึ้นจึงมีความแกร่งของภูมิต้านทานที่ต่อสู้กับเชื้อโรคเพิ่มมากขึ้น
เมื่อทำทั้ง 4 ข้อแล้ว หมอที่มีประสบการณ์ชำนาญการจะให้เราฟื้นฟูอวัยวะที่เสี่อมหรือเสียหายควบคู่กันไป เป็นการรักษาแบบครบวงจร ดังนั้นท่านอย่าได้สงสัยเลยว่า ทำไมคุณหมอจึงจ่ายยาให้เราทานหลายชนิด เนื่องมาจากเหตุผลที่กล่าวมา
สมุนไพรเจียวกู้หลาน,เจียวกู่หลาน,เจียวกูหลาน ชนิดต่าง ดูข้อมูลเพิ่มเติม

สมุนไพรเจียวกู้หลาน,เจียวกู่หลาน,เจียวกูหลาน สามารถรักษาโรคได้หรือไม่
     ในสมัยที่โลกของเรายังไม่มีวิวัฒนาการเจริญรุ่งเรื่องเหมือนปัจจุบัน หมอพื้นบ้านหรือหมอแผนไทยจะเป็นผู้มีประสบการและความชำนาญในการหาสมุนไพรมาใช้แล้วเก็บข้อมูลเอาไว้ จากนั้นมีการรวบรวมเป็นคัมภีร์แพทย์แผนไทยมากมาย ยาแผนปัจจุบันก็ได้มีการนำข้อมูลสมุนไพรไปต่อยอดจนได้ยาแผนปัจจุบันที่เราใช้กันทุกวันนี้ ในที่นี้เพื่อเป็นตัวอย่างเรื่องสมุนไพรกับการรักษาโรคขอนำโรคที่กำลังเป็นที่วิตกกังวลของคนทั่วๆ ไปนำมาเป็นตัวอย่างให้ศึกษากันและจะใช้สมุนไพรใดจัดการกับโรคนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โรคเบาหวาน
ต้นตอของโรคคือตับอ่อนผลิตอินซูลินที่นำนำ้ตาลเข้าเซลไม่ได้ตามจำนวนคือน้อยกว่า จึงทำให้น้ำตาลค้างอยู่ในกระแสเลือดมาก เมื่อร่างกายได้น้ำตาลไม่พอที่จะสร้างพลังงานจึงเกิดอาการอ่อนเพลีย คนทั่วๆ ไป ก็จะใช้สมุนไพรมาช่วยให้นำ้ตาลเข้าเซลดีขึ้นแต่ไม่ได้เป็นการรักษาเบาหวานที่ต้นตอดังนั้นเมื่อใช้สมุนไพรไปสักระยะก็จะรู้ว่าโรคมันไม่หายก็จะเปลี่ยนไปใช้สมุนไพรอื่นๆต่อไปจนกว่าจะพบสมุนไพรที่รักษาต้นตอของโรคและเบาหวานในคนไข้บางคนเกิดจากอนุมูลอิสระไปกระทำต่อร่างกายไม่ไห้ดูดซึมน้ำตาล กรณีนี้หมอยังไม่มียากำจัดอนุมูลอิสระในขณะนี้ต้องพึ่งโอสถสารในสมุนไพร จะปลอดภัยมากที่สุด ( เจียวกู้หลานป่ามีโอสถสารตัวนี้ด้วย )
หาซื้อเจียวกู้หลานคุณภาพได้ที่ไหน
                                                        หาเจียวกู้หลานคุณภาพได้ที่ไหน คลิกที่นี่เพื่อดูรายละเอียด
สมุนไพรนี้ช่วยยาหมอร้กษาเบาหวานได้ดี
เจียวกู้หลานหรือปัญจขันธ์ ครบเครื่องมากกว่าการหยุดเบาหวานหากเทียบกับสมุนไพรอื่นๆ
เจียวกู้หลานจากธรรมชาติดีกับคุณ คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม
ดูรายละเอียด
     คุณสามารถใช้คุณประโยชน์จากเจียวกู้หลานคู่ไปกับการรักษาของหมอแผนปัจจุบัน โดยไม่เสียโอกาสทางการรักษา การลดลงของอาการที่ผิดปกติที่คุณเป็นอยู่จะเห็นผลชัดเจนจากค่าที่คุณหมอได้บันทึกเอาไว้และเมื่ออาการต่างๆ ดีขึ้น คุณหมอจะลดยาลงและคุณหมอจะสั่งให่คุณหยุดยาเมื่ออาการผิดปกติได้หายไป นับว่าคุณได้ประโยชน์ที่คุ้มค่าต่อร่างกายของคุณ

ปริมาณการใช้เจียวกู้หลาน
ปริมาณการใช้เจียวกู้หลาน

     อาศัยหลักการของแพทย์แผนไทย กำหนดขนาดของสมุนไพรที่อยู่ในรูปของเม็ดแค็ปซูล กำหนดไว้ว่า สมุนไพร 1 เม็ด ขนาด 500 มิลลิกรัม ใช้กับน้ำหนักของผู้ไข้ ( ผู้ป่วย ) 20 กิโลกรัม ดังนั้นการใช้สมุนไพรที่แนะนำโดยผู้ที่ไม่ทราบจึงทำให้การรักษาไม่ได้ผลและการได้ปริมาณของสมุนไพรน้อยไปก็ทำให้ไม่ได้ผลเช่นกัน ดังนั้นควรดูรายละเอียดผลิตภัณฑ์นั้นๆ ให้ระเอียดว่า 1 ขวด บรรจุ 100 เม็ดเท่ากันแต่ปริมาณต่างกัน บางยี่ห้อบรรจุ 1 เม็ด มีปริมาณ 250 มิลิกรัม บางยี่ห้อ บรรจุ 1 เม็ด มีปริมาณ 325 มิลิกรัม เป็นต้น
สมุนไพรเจียวกู้หลาน,เจียวกู่หลาน,เจียวกูหลาน
สมุนไพรเจียวกู้หลาน,เจียวกู่หลาน,เจียวกูหลาน


หนังสือพิมพ์ไทยรัฐกล่าวถึงเจียวกู้หลานรักษาโรคได้

                                                                   คลิกดูรายละเอียด
เจียวกู้หลานดีกับโรคอะไรบ้า






มะระขี้นก
ขม ขรุขระ ชนะเบาหวาน
ชื่อวิทยาศาสตร์ Momordica charantia (L.)
วงศ์ Cucurbitaceae

ชื่ออื่นๆ ผักไห่ มะไห่ มะนอย มะห่วย ผักไซ (เหนือ) สุพะซู สุพะเด (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ผักไห (นครศรีธรรมราช) ระ (ใต้) ผักสะไล ผักไส่ (อีสาน) โกควยเกี๋ยะ โควกวย (จีน) มะระเล็ก มะระขี้นก (ทั่วไป) Bitter Cucumber
ลักษณะ เป็นไม้เลื้อยอายุปีเดียว มีมือเกาะเป็นเส้นยาวออกตรงข้ามใบ ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปฝ่ามือ กว้างและยาวประมาณ ๔-๗ เซนติเมตร ขอบใบเว้าเป็นแฉกลึก ๕-๗ แฉก เนื้อใบบาง ก้านใบยาว ดอกเป็นดอกเดี่ยวออกที่ซอกใบ แยกเป็นดอกตัวผู้ และดอกตัวเมียอยู่บนต้นเดียวกัน กลีบดอกสีเหลืองรูประฆัง ผลเป็นรูปรี หัวท้ายแหลม ผิวขรุขระ มีรสขมจัด ผลแก่จัดจะมีสีแดง มะระเป็นพืชที่ขึ้นง่ายตามป่า และสามารถนำมาปลูกเป็นพืชสวนครัวได้
การใช้ประโยชน์อื่นๆ มะระขี้นก เป็นผักพื้นบ้านของไทย คนไทยทุกภาคนำยอดอ่อนและผลอ่อนมาปรุงเป็นอาหารโดยนำมาลวกเป็นผักจิ้ม อาจจะนำไปผัดหรือแกงร่วมกับผักอื่นแต่นิยมลวกน้ำและเทน้ำทิ้งก่อนเพื่อลดความขม มีวิตามินเอและซีสูง ในส่วนของจีน พม่า อินเดีย แอฟริกาและอเมริกาใต้ก็กินเป็นผักเช่นเดียวกัน โดยอินเดียจะปรุงเป็นแกง ศรีลังกานำไปปรุงเป็นผักดอง อินโดนีเซียกินเป็นผักสด
การใช้ประโยชน์ทางยา มีการนำมาใช้รักษาโรคเบาหวาน พบในตำรับยาพื้นบ้านของทางอินเดียและศรีลังกา ซึ่งแพทย์แผนปัจจุบันในประเทศอินเดีย แพทย์แผนเดิมของพม่าและแพทย์จีน มีการสั่งจ่ายมะระขี้นกเป็นสมุนไพรเดี่ยวให้กับผู้ป่วยเบาหวาน
รายงานการศึกษาวิจัย
     สรรพคุณลดน้ำตาลในเลือด มีรายงานการศึกษาที่ประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และอินเดีย พบฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดในสัตว์ทดลอง และผู้ป่วยเบาหวาน และสามารถชะลอการเกิดต้อกระจกซึ่งเป็นอาการแทรกซ้อนของโรคเบาหวานได้
จากผลการวิจัยสรุปว่ามะระมีกลไกการออกฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดได้หลายวิธี คือ ออกฤทธิ์คล้ายอินซูลิน ออกฤทธิ์เกี่ยวกับการหลั่งอินซูลินจากตับอ่อน ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์กลูโคส และเพิ่มการใช้กลูโคสในตับ องค์ประกอบทางเคมีที่มีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดคือ อินซูลิน คาแรนทิน (charantin) และไวซีน (vicine)
ส่วนการทดลองทางคลินิกมีรายงานว่าน้ำคั้นจากมะระขี้นก ๕๐ มิลลิลิตร และ ๑๐๐ มิลลิลิตร เพิ่มความทนต่อน้ำตาลของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ ๒ ได้ และยังพบเช่นเดิมในผู้ที่กินผลมะระแห้ง ๐.๒๓ กิโลกรัมต่อวันเป็นเวลา ๘-๑๑ สัปดาห์ และกินผงมะระขี้นกแห้ง ๕๐ มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว ๑ กิโลกรัม เป็นเวลา ๗ วัน
ความเป็นพิษ การศึกษาด้านพิษวิทยาและความปลอดภัยของมะระขี้นก พบว่าเมล็ดมีสารโมมอร์คาริน (momorcharin) ประกอบที่เป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ในสัตว์ทดลองคือ สารดังกล่าวมีฤทธิ์ทำให้แท้งในหนูถีบจักร ไม่มีพิษต่อเซลล์ แต่มีผลกระทบต่อเซลล์ของตัวอ่อนในระยะสร้างอวัยวะ ทำให้ส่วนหัว ลำตัว และขามีรูปร่างผิดปกติ แต่เมล็ดก็สามารถแยกส่วนออกไปได้ง่าย ดังนั้น จึงน่าจะมีความปลอดภัยในการนำมาใช้พอสมควร  
มะระขี้นกจึงเป็นพืชผักสมุนไพรตัวแรกที่ควรส่งเสริมให้ใช้เป็นสมุนไพรคู่ใจผู้ป่วยเบาหวาน จากการที่มีรายงานการศึกษาวิจัยถึงสรรพคุณการลดน้ำตาลในเลือดทั้งในสัตว์ทดลองและในคนเป็นจำนวนมาก และรูปแบบวิธีใช้ที่ให้ผลลดน้ำตาลในเลือดก็ไม่ซับซ้อน คือสามารถใช้ได้ทั้งน้ำคั้น ชงเป็นชา หรือกินในรูปแบบของแคปซูล ผงแห้ง ซึ่งจากประสบการณ์ของชาวบ้านไทยมีวิธีการใช้มะระขี้นกควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดดังนี้
ตัวอย่างตำรับยาเบาหวาน
ตำรับยา ๑ : น้ำคั้นสด
นำผลมะระขี้นกสด ๘-๑๐ ผล นำเมล็ดในออก ใส่น้ำลงไปเล็กน้อย ปั่นให้ละเอียด กรองกากออกจะได้น้ำดื่มประมาณ ๑๐๐ มิลลิลิตร (หรือกินทั้งกากก็ได้) กินทุกวันติดต่อกัน แบ่งกินวันละ ๓ เวลา
ตำรับยา ๒ : ทำเป็นชา
นำเนื้อมะระผลเล็ก (มีตัวยามาก) ผ่านำเมล็ดออก หั่นเนื้อมะระเป็นชิ้นเล็กๆ ตากแดดให้แห้ง แล้วนำมาชงกับน้ำเดือด (มะระ ๑-๒ ชิ้น น้ำ ๑ ถ้วย) ดื่มเป็นน้ำชา ครั้งละ ๒ ถ้วย วันละ ๓ เวลา หรือจะต้มน้ำดื่มก็ได้ หรือใส่กระติกน้ำร้อนต้มดื่มเป็นกระติกปริมาณมากก็สะดวกดื่มไปเรื่อยๆ แทนน้ำเป็นเวลาประมาณ ๓ สัปดาห์ ไม่เกิน ๑ เดือนก็เห็นผลให้
ตำรับยา ๓ : ทำเป็นแคปซูลหรือลูกกลอน
กินมะระขี้นก ๕๐๐-๑,๐๐๐ มิลลิกรัม วันละ ๑-๒ ครั้ง
ข้อควรระวังคือ คนท้อง เด็กและคนที่มีน้ำตาลในเลือดต่ำไม่ควรกิน

ผักตำลึง
ยาเบาหวาน คลานตามรั้ว
ชื่อวิทยาศาสตร์ Coccinia grandis (L.) Voigt, Coccinia cordifolia Gagnep
วงศ์ Cucurbitaceae
ชื่ออื่นๆ ผักแคบ (ภาคเหนือ) แคเต๊าะ (แม่ฮ่องสอน) ผักตำนิน (อีสาน)

การใช้ประโยชน์อื่นๆ
ตำลึงเป็นผักที่นิยมนำยอดมาลวกหรือนึ่ง เป็นผักจิ้มน้ำพริก หรือนำยอดอ่อน ใบอ่อนมาปรุงเป็นอาหารได้หลากหลาย เช่น แกงจืด แกงเลียง ใส่ก๋วยเตี๋ยว ผัดน้ำมัน ใส่ในแกงแค แกงปลาแห้ง ผลอ่อนนำมานึ่งกิน ดองกินกับน้ำพริกได้ ผลอ่อนที่ก้านดอกเริ่มจะหลุดกินสดได้กรอบอร่อย ไม่ขม เป็นยาบำรุงสุขภาพ รักษาปากเป็นแผล ผลอ่อนที่ยังหนุ่มๆ อยู่จะมีรสขมต้องคั้นน้ำเกลือให้หายขมก่อนนำมาแกง ส่วนผลสุกคนกินได้ สัตว์ก็ชอบกิน
นอกจากนี้ ตำลึงยังเป็นผักที่ใช้แทนผงชูรสได้ โดยนำใบทั้งแก่ทั้งอ่อนประมาณกำมือใส่ต้มไก่ ต้มปลา ต้มเป็ด จะมีรสชาติออกมาหวานนัวเหมือนกับใส่ผงชูรส
ตำลึงมีวิตามินเอสูงเหมาะกับผู้ป่วยที่มีอาการตามัวจากการขาดวิตามินเอ และเหมาะกับคนผิวแห้งไม่มีน้ำมีนวล เพราะนอกจากจะมีวิตามินเอสูงแล้วยังมีวิตามินบี ๓ ที่ช่วยบำรุงผิวหนังได้เป็นอย่างดี
ตำลึงเป็นผักที่อุดมด้วยวิตามินและแร่ธาตุ มากคุณค่าทางโภชนาการ ให้แคลเซียมสูงน้องๆ นม การกินผักตำลึงเป็นประจำจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง กระดูกแข็งแรง
การใช้ประโยชน์ทางยา
ตำลึงเป็นสมุนไพรที่นิยมใช้รักษาโรคผิวหนังพวกผื่นแพ้ ตำแย หมามุ่ย หนอนคัน บุ้ง หอยคัน มดคันไป ผื่นคันจากน้ำเสีย ผื่นคันจากละอองข้าว ผื่นคันชนิดที่ไม่รู้สาเหตุ เริม งูสวัด สุกใส หิด สิว ฝีหนอง เป็นต้น
ส่วนการกินตำลึงจะช่วยระบายท้อง ลดการอึดอัดท้องหลังกินอาหารเนื่องจากมีสารช่วยย่อยแป้ง และช่วยแก้ร้อนใน เป็นต้น
ที่สำคัญคือตำลึงเป็นยาพื้นบ้านใช้รักษาเบาหวาน ทั้งราก เถา ใบ ใช้ได้หมด มีสูตรตำรับหลากหลาย และในตำราอายุรเวทก็มีการใช้เป็นยารักษาเบาหวานมานานนับพันปี ชาวเบงกอลในอินเดียใช้ตำลึงเป็นยาประจำวันสำหรับแก้โรคเบาหวาน
รายงานการศึกษาวิจัย
สำหรับการรักษาเบาหวานด้วยตำลึงนั้น ปัจจุบันมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับตำลึงจำนวนมากและเป็นสมุนไพรที่น่าเชื่อถือได้มากที่สุดตัวหนึ่ง จากการทบทวนผลการศึกษาวิจัยอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรลดน้ำตาลในเลือดของทีมนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด พบว่าตำลึงและโสมมีหลักฐานสนับสนุนประสิทธิผลการลดน้ำตาลดีที่สุด
ตำลึงแสดงผลการลดน้ำตาลทั้งในคนและสัตว์ทดลอง
สรรพคุณของตำลึงที่ช่วยลดน้ำตาล คือ ใบ ราก ผล มีการศึกษาพบว่าการกินตำลึงวันละ ๕๐ กรัม (ครึ่งขีด) ทุกวันสามารถรักษาระดับน้ำตาลให้คงที่ได้
ข้อดีของตำลึงคือปลูกง่าย หาง่ายและราคาถูกกว่าโสมมากโดยเฉพาะในบ้านเรา
 ตัวอย่างตำรับยาเบาหวาน
ตำรับ ๑ : นำรากผักตำลึง รากผักหวานป่า รากฟักข้าว รากกุ่มน้ำ รากุ่มบก ต้มกินติดต่อกันไปเรื่อยๆ
ตำรับ ๒ : ข้อรากผักตำลึงฝนกับน้ำดื่ม หรือใช้เถาผักตำลึงสับเป็นท่อนๆ ยาว ๒-๓ นิ้ว จำนวน ๑ กำมือ ใส่น้ำพอท่วม ต้มนาน ๑๕-๒๐ นาที นำมาดื่มเช้า-เย็น ติดต่อกันอย่างน้อย ๗-๑๐ วัน ช่วยลดน้ำตาลในเลือด หรืออาจใช้ส่วนของต้น ใบ และราก ต้มรวมกันแทนเถาอย่างเดียวก็ได้
ตำรับ ๓ : นำยอดตำลึง ๑ กำมือหรือขนาดที่กินพออิ่มโรยเกลือหรือเหยาะน้ำปลา (เพื่อให้อร่อยพอกินได้) ห่อด้วยใบตอง นำไปเผาไฟให้สุกแล้วกินให้หมด หรือกินจนอิ่ม กินก่อนนอนติดต่อกัน ๓ เดือน

ผักเชียงดา
เกิดมาฆ่าน้ำตาล
ชื่อวิทยาศาสตร์ Gymnema inodorum (Lour.) Decne.
วงศ์ Asclepiadaceae
ชื่ออื่น ผักจินดา ผักเซียงดา (เหนือ)
ลักษณะทั่วไป ไม้เถาเลื้อยยาว เถาสีเขียว ทุกส่วนมีน้ำยางสีขาวเหมือนน้ำนม ใบ เดี่ยว รูปกลมรี ท้องใบเขียวแก่กว่าหลังใบ ใบออกตรงข้อเป็นคู่ๆดอกออกเป็นกระจุกแน่นสีขาวอมเขียว ดอกย่อยขนาดเล็ก ผลเป็นฝักคู่

การใช้ประโยชน์อื่นๆ
ยอดอ่อนและใบอ่อนของผักเชียงดา นำมากินเป็นผัก มีรสขมอ่อนๆ และมีสารต้านอนุมูลอิสระสูงมาก
ผักเชียงดานิยมนำมาปรุงอาหารรวมกับผักอื่นๆ เช่น ใช้อุ๊บรวมกับผักอื่น ผสมในแกงแค แกงเขียว แกงเลียง ต้มเลือดหมู ผัดรวมกับมะเขือ ไม่นิยมนำมาแกงหรือผัดเฉพาะผักเชียงดาอย่างเดียวเพราะรสชาติจะออกขมเฝื่อน (แต่ก็มีบางคนชอบ)
ปัจจุบันเริ่มมีเกษตรกรนำผักเชียงดามาปลูกเป็นแปลงขนาดใหญ่เพื่อเก็บยอดขายเป็นเชิงการค้า เช่น จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน และจันทบุรี สามารถพบผักเชียงดาขายอยู่ที่ตลาดในตัวเมืองเชียงใหม่
การใช้ประโยชน์ทางยา
ผักเชียงดาเป็นผักที่หมอยาพื้นบ้านใช้เป็นผักเพิ่มกำลังในการทำงานหนักและใช้เป็นยารักษาเบาหวานเช่นเดียวกับอินเดียและประเทศแถบเอเชียมานานกว่า ๒ พันปีแล้ว
ผักเชียงดาสามารถนำไปใช้ลดน้ำหนัก เพราะว่าผักเชียงดาช่วยให้มีการนำน้ำตาลไปเผาผลาญมากกว่าการนำไปสร้างเป็นไขมันสะสมอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย และพบมีรายงานการศึกษาว่าผักเชียงดาสามารถช่วยลดน้ำหนักได้จริง
รายงานการศึกษาวิจัย
นักวิทยาศาสตร์ค้นพบว่าผักเชียงดามีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๖๙ และปี พ.ศ.๒๕๒๔ มีการยืนยันผลการลดน้ำตาลในเลือดและเพิ่มปริมาณอินซูลินในสัตว์ทดลองและในคนที่เป็นอาสาสมัครที่แข็งแรง พบว่าผักเชียงดาไปฟื้นฟูบีตาเซลล์ของตับอ่อน (อวัยวะที่สร้างอินซูลิน) ทำให้ผักเชียงดาสามารถช่วยคุมน้ำตาลได้ในคนเป็นเบาหวานทั้งชนิดที่ ๑ และชนิดที่ ๒
นอกจากนี้ ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๓ เป็นต้นมามีการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบประสิทธิภาพ กลไกออกฤทธิ์ ในการลดน้ำตาลในเลือดและมีการศึกษาความเป็นพิษอย่างมากมาย ยกตัวอย่างเช่น การศึกษาที่มหาวิทยาลัยมาดราส ประเทศอินเดียโดยศึกษาผลของผักเชียงดาในหนูด้วยการให้สารพิษที่ทำลายบีตาเซลล์ในตับอ่อนของหนู พบว่าหนูที่ได้รับผักเชียงดา (ทั้งในรูปของผงแห้งและสารสกัด) มีระดับน้ำตาลในเลือดกลับมาเป็นปกติภายใน ๒๐-๖๐ วัน ระดับอินซูลินกลับมาเป็นปกติ และจำนวนของบีตาเซลล์เพิ่มขึ้น
ในปีเดียวกันนี้ มีการศึกษาผลของผักเชียงดาในผู้ป่วยโรคเบาหวานพบว่าผักเชียงดาสามารถลดการใช้ยารักษาเบาหวานแผนปัจจุบัน และบางรายสามารถเลิกใช้ยาแผนปัจจุบันโดยใช้แต่ผักเชียงดาอย่างเดียวสำหรับการคุมระดับน้ำตาลในเลือด
จากการศึกษานี้ ยังพบว่าปริมาณของระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (hemoglobin A1c) ลดลง (ปริมาณสารตัวนี้แสดงให้เห็นว่าการกินผักเชียงดาทำให้ระดับของน้ำตาลในเลือดในช่วง ๒-๔ เดือนที่ผ่านมามีความสม่ำเสมอ ถ้าลดลงแสดงว่าคุมระดับน้ำตาลได้ดี ซึ่งเป็นการลดโอกาสที่จะเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด จากการป่วยเป็นโรคเบาหวาน) และปริมาณอินซูลินเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับการรักษาเบาหวาน นอกจากปริมาณอินซูลินจะไม่เพิ่มขึ้นแล้วปริมาณของระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมยังเพิ่มขึ้นอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาพบว่าสารสกัดผักเชียงดาสามารถลดปริมาณการใช้อินซูลินได้ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ต้องพึ่งอินซูลินได้อีกด้วย ในปี พ.ศ.๒๕๔๐ นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นได้ค้นพบว่าผักเชียงดาสามารถยับยั้งการดูดซึมของน้ำตาลจากลำไส้เล็ก
ปี พ.ศ.๒๕๔๔ นักวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัย Nippon Veterinary and Animal Science University ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นได้ตีพิมพ์ผลงานวิเคราะห์สารบริสุทธิ์ (pure compound) ที่เป็นตัวออกฤทธิ์ในการลดน้ำตาลจากใบของผักเชียงดาโดยใช้วิธีเทียบเคียงสูตรโครงสร้างของสารออกฤทธิ์ตามธรรมชาติด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ด้วยเทคนิคที่เรียกว่า Structure-activity relationship (SAR) และได้ออกแบบสูตรโครงสร้างของสาระสำคัญ ๔ ตัว (GIA-1, GiA-2, GIA-5, และ GIA-7) ซึ่งพิสูจน์ฤทธิ์ในหนูทดลองแล้วว่าสามารถลดระดับน้ำตาลได้ จึงทำการสังเคราะห์สารสำคัญดังกล่าวขึ้นมา วิธีการนี้ได้สารออกฤทธิ์ที่แม่นยำและมีปริมาณสูง ช่วยลดปริมาณความต้องการใช้สารออกฤทธิ์ตามธรรมชาติจากใบของผักเชียงดาอย่างมาก ปี พ.ศ.๒๕๔๖ นักวิทยาศาสตร์รายงานถึงผลของสารสกัดผักเชียงดาในหนูซึ่งนอกจากจะพบฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดและเพิ่มปริมาณอินซูลินแล้ว ยังลดปริมาณของอนุมูลอิสระในกระแสเลือดของหนูที่เป็นเบาหวานได้อีกด้วย ทั้งยังเพิ่มปริมาณของสารกลูตาไทโอน วิตามินซี วิตามินอี ในกระแสเลือดของหนูได้อีกด้วย และยังพบอีกว่าสารสกัดผักเชียงดามีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดสูงกว่ายาแผนปัจจุบันที่ใช้รักษาเบาหวานที่มีชื่อว่า ไกลเบนคลาไมด์ (glibenclamide)
นักวิทยาศาสตร์ได้มีการศึกษาความเป็นพิษของผักเชียงดาไม่พบความเป็นพิษแต่อย่างใด
ผักเชียงดาไม่ได้ลดน้ำตาลในเลือดในคน และถ้าใช้แต่ผักเชียงดาอย่างเดียวไม่ได้ทำให้น้ำตาลในเลือดต่ำแต่อย่างใดยกเว้นการใช้ร่วมกับยาแผนปัจจุบันที่ใช้ลดน้ำตาล
ตำรับยาแก้ไข้ แก้เบาหวาน
ใช้ราก เถา หรือใบ ตากแห้ง บด ชงเป็นชาดื่ม
ที่มา http://www.doctor.or.th/article/detail/11212

สมุนไพรแฮ่ม

แห้ม (falso colombo, rizoma)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Coscinum fenestratum
ตระกูล : Lamiaceae
วงศ์ :  Menispermaceae


แห้มเป็นสมุนไพรที่ใช้กันมากในแถบประเทศลาว เวียดนาม ประกอบด้วย 2 สายพันธุ์คือ
1. แห้ม Coscinium usitatum ไม้เถา รากและเถาสีเหลือง ใบเป็นแบบสลับ ดอกสีขาว ออกเป็นช่อระหว่างใบ พบตามป่าเกือบทุกภาคของประเทศลาว ส่วนที่ใช้ เถาแก่ ส่วนประกอบทางเคมี อัลคารอยด์ และเบอบีริน สรรพคุณแผนโบราณ ใช้สำหรับแก้ปวดท้องบิด แก้ไข้ ไล่ยุง และแก้ตาแดง
2. แห้ม Fibraurca recisa Pierre เป็นไม้เถา เถาแก่สีเหลือง ใบเป็นแบบสลับ ดอกสีเหลืองอมเขียว ออกดอกในช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ส่วนที่ใช้ รากและเถา ส่วนประกอบทางเคมี อัลคารอยด์ พัลมาทิน จูโทรไรซิน คูลัมบามีน และ เบอบีรีน สรรพคุณแผนโบราณ แก้ตาอักเสบ ฝี แก้ผื่นคัน ลำไส้อักเสบ กระเพาะอักเสบ โรคบิด และแก้ไข้ การศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์พบว่า มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ทั้งหมดเป็นสรรพคุณของแห้ม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสรรพคุณแผนโบราณ แห้มเป็นพืชคนละชนิดกับขมิ้นเครือหรือ ขมิ้นฤาษี
สรรพคุณ
จากฐานข้อมูลสรรพคุณที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาอนุญาตให้ขึ้นทะเบียนยาแผนโบราณ แห้มมีสรรพคุณ คือ ลดน้ำตาล แก้เบาหวาน ความดันสูง-ต่ำ บำรุงร่างกาย แก้โรคหัวใจ แต่ไม่แนะนำให้ใช้เป็นสมุนไพรเดี่ยว ควรใช้สมุนไพรอื่นประกอบเป็นตำหรับยา
ใบ รสร้อนฝาดเฝื่อน ขับโลหิตระดูที่เสียเป็นลิ่มเป็นก้อนให้ออกมา ขับน้ำคาวปลา แก้มุตกิต ลดน้ำตาลในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปรับความดันโลหิตให้ปกติ ลดไขมันในเส้นเลือด ตับ ไต โรคหัวใจ ไขมันส่วนเกิน โรคกระเพาะ โรคไขข้อกระดูก ภูมิแพ้ หวัด เพิ่มภูมอต้านทาน ช่วยระบบขับถ่าย
ดอก รสฝาดเฝื่อน แก้บิดมูกเลือด
เถา รสร้อนฝาดเฝื่อน แก้ดีพิการ ขับผายลม ทำให้เรอ แก้ไข้ร้อนใน แก้ท้องเสียเนื่องจากอาหารไม่ย่อย แก้ดีซ่าน
ราก รสร้อนฝาดเฝื่อน ขับลมอัมพฤกษ์ บำรุงน้ำเหลือง ฝนหยอดตาแก้ริดสีดวงตา แก้ตาแดง ตาแฉะ ตามัว ตาอักเสบ
เทวรัตน์  คุ้มจันทึก (2547). ทำการวิจัยเกี่ยวกับสมุนไพรแห้ม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าแฮ่ม (coscinium fenestratum) เป็นสมุนไพรประเภทเครือเถา เจริญเติบโตในป่าร้อนชื้นแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งในประเทศไทย ประชาชนนิยมนำมารับประทานอย่างแพร่หลายเพื่อรักษษโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอื่นๆ
คุณประโยชน์ ลดเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ขับเหงื่อ ขับถ่ายดี ลดความอ้วน ละลายไขมันอุดตันในเส้นเลือด กระเพาะอาหาร ลำไส้เป็นแผล ช่วยขับสารพิษตกค้าง ปวดหลัง ปวดเอว กินไม่ได้ นอนไม่หลับ ทำให้สุขภาพแข็งแรง
ต้านมะเร็ง ปรับปรุงภูมิคุ้มกัน ลดคอลเลสเตอรอล ยับยั้งการเกาะของเกล็ดเลือด ปกป้องเซลล์รังสี
ผลข้างเคียงของสมุนไพร แฮ้ม


สมุนไพรปอบิด
ชื่อวิยาศาสตร์ Helicteres isora Linn.
ชื่อวงศ์STERCULIACEAE
ชื่อเรียกอื่น ปอทับ มะปิด ขี้อ้นใหญ่  
     ลักษณะ ม้พุ่ม สูง 1-2 ม. ทุกส่วนมีขนสีน้ำตาลปกคลุม ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้างหรือรูปรี เส้นใบแตกแขนงจากโคนใบ กว้าง 8-14 ซม. ยาว 13-17 ซม. โคนใบมนเว้าไม่เท่ากัน ปลายใบมน ขอบใบหยัก แผ่นใบสากคาย ก้านใบยาว 2 ซม.ดอกสีส้ม ออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ แต่ละดอกมีใบประดับขนาดเล็กรองรับ กลีบรองดอกสีเขียวเชื่อมเป็นหลอดโค้ง ยาวประมาณ 2 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ กลีบคู่บนมีขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่น ขนาด 2.5-3 ซม. ปลายกลีบมน เกสรผู้สีเหลือง 10 อัน เชื่อมร่วมกับก้านเกสรเมีย ยาวประมาณ 4 ซม. ผลเป็นฝักยาวบิดเป็นเกลียว ยาว 3-4 ซม. เมื่อแก่จะแตก มีสีน้ำตาลดำ
     รศ.รุ่งระวี เต็มศิริฤกษ์กุล ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เขียนบทความที่กล่าวถึงสมุนไพรปอกะบิดไว้ โดยสรุปคร่าว ๆ ว่า จากข้อมูลตำรายาไทย เผยถึงการใช้เปลือกต้นและรากของปอกะบิด ในการบำรุงธาตุ ขณะที่ส่วนผล จะใช้แก้โรคบิด  ท้องเสีย ขับเสมหะ หรือตำพอกแก้ปวดเคล็ด แก้บวม และจากการทดลองยังพบว่า สารสกัดของปอกะบิด ยังมีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้ออีโคไล ที่เป็นสาเหตุของอาการท้องเสียทั่วไป และยังช่วยรักษาโรคกระเพาะอาหารหรือลำไส้อักเสบ

          ส่วนการศึกษาวิจัยประสิทธิภาพของปอกะบิดในโรคอื่น ๆ ที่น่าสนใจ ได้แก่ โรคเบาหวาน พบว่า สารสกัดน้ำจากผลปอกะบิดมีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดของหนูขาวที่ถูกทำให้เป็นเบาหวาน และป้องกันไม่ให้ระดับไขมันสูงขึ้น แต่การทดลองเหล่านี้ยังไม่เพียงพอที่จะระบุขนาดที่ใช้ รวมทั้งยังไม่สามารถนำมาใช้ทดแทนยารักษาเบาหวานได้จริง ดังนั้น ในกรณีที่ยังมีข้อมูลไม่ครบถ้วนและยังไม่มีข้อมูลการใช้แผนโบราณสนับสนุน จึงควรพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจเลือกใช้

สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เปิดเผยถึงกรณีใช้สมุนไพร "ปอบิด" รักษาโรคเบาหวานได้ แต่พบว่าผู้ป่วยบางรายมีอาการไตวาย...

คำเตือนจากหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 
     เมื่อ วันที่ 6 ก.พ. 57 นางเสาวณีย์ กุลสมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงกรณีใช้สมุนไพร "ปอบิด" รักษาโรคเบาหวาน แต่พบว่าผู้ป่วยบางรายมีอาการไตวาย ว่า ตามตำราการแพทย์แผนไทย ปอบิดเป็นสมุนไพรที่มีสารสำคัญอยู่ที่รากและเปลือกเป็นจำนวนมาก เมื่อทบทวนตำรายาในต่างประเทศ มีหลายประเทศนำมาใช้ เช่น อินเดีย ใช้รากผสมขมิ้นรักษาแผล อินโดนีเซีย ใช้รักษากระเพาะอาหาร พยาธิตัวตืด ประเทศแถบมลายู บำรุงสุขภาพเด็กแรกเกิด เป็นต้น

     จากรายงานการวิจัยพบ ว่า ปอบิด มีผลในการรักษาเบาหวาน สามารถลดน้ำตาลในหนูทดลองได้ แต่มีผลข้างเคียงสามารถทำลายตับหนูได้ และมีเกิดการกระตุ้นหัวใจในกบ โดยสมุนไพรดังกล่าวยังไม่มีงานวิจัยด้านพิษวิทยา

     ล่าสุด มีงานวิจัยด้านเภสัชศาสตร์ โดย รศ.รุ่งระวี เต็มศิริฤกษ์กุล ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่าแม้ปอบิดจะมีผลลดน้ำตาลในเลือดได้ใกล้เคียงกับยาแผนปัจจุบัน แต่ยังไม่สามารถทดแทนยารักษาเบาหวานได้จริง และผู้ที่จะใช้ตรวจภาวะการทำงานของตับไตอย่างสม่ำเสมอทุก 3 เดือน และห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติ หรือแม้แต่ครอบครัวที่มีประวัติเป็นโรคตับ หรือโรคไต

     "ผู้ป่วยเบาหวานมักจะมีตับอ่อน ไต หัวใจ ไม่แข็งแรง และเสี่ยงเกิดโรคแทรกซ้อนหากดูแลสุขภาพไม่ดี ซึ่งหลักการใช้สมุนไพรเป็นยานั้น ไม่ควรกินติดต่อกันเกิน 7 วัน เพราะปริมาณสารเคมีจากสมุนไพรควบคุมได้ยาก"

     ฉะนั้น หากจะใช้สมุนไพรรักษาโรค ไม่ควรกินต่อเนื่อง หรือกินอาหารเป็นยาแทน เพราะปริมาณความเข้มข้นของสมุนไพรที่ได้จะมีความเข้มข้นต่างกัน เช่น กินผักแกล้ม หรือน้ำคั้น เช่น ใบกะเพรา ใบบัวบก ก็มีฤทธิ์ลดน้ำตาลได้เช่นกัน แต่ต้องใช้หลักการเดียวกัน คือ สลับสับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ไม่ให้เกิดความเสี่ยงจากผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นได้.
     แนะนำเจียวกู้หลานในการใช้เพื่อบำบัดอาการเบาหวานด้วยงานวิจัยระบุว่าได้ผลครบถ้วนกว่าสมุนไพรอื่น การใช้เจียวกู้หลานเพื่อเป็นยา มีความจำเป็นต้องอาศัยความเข้มข้นของโอสถสารในการบำบัดสายพันธุ์เจียวกู้หลานที่จะนำมาใช้ แนะนำควรเป็นเจียวกู้หลานธรรมชาติจากป่าจะให้โอสถสารสูงกว่าเจียวกู้หลานปลูกและปลอดภัยกว่าเจียวกู้หลานนำเข้าจากต่างประเทศ เราสามารถนำเจียวกู้หลานไปเป็นทางเลือกในการช่วยฟื้นฟูร่วมรักษา โรคควบคู่กับการรักษาของแพทย์แผนปัจจุบัน ฤทธิ์ของโอสถสารในเจียวกู้หลานจะทำหน้าที่คนละส่วนกับยาหมอ ไม่ไปเสริมฤทธฺ์หรือลดคุณสมบัติของยาใดๆ ทั้งสิ้น 
และปริมาณการใช้เจียวกู้หลานขออ้างอิงปริมาณการใช้เจียวกู้หลานเองซึ่งค่าโดยเฉลี่ยที่ทำให้เจียวกู้หลานออกฤทธิ์และอ้างอิงตามผลงานการวิจัย เจียวกู้หลานที่ใช้จะเป็นเจียวกู้หลานจากธรรมชาติ หากคุณใช้เจียวกู้หลานปลูกจะต้องใช้ในปริมาณมากกว่า

ปริมาณสารสำคัญที่เป็นสมุนไพรในเจียวกู้หลานกับการออกฤทธิ์ต่ออาการต่างๆ
คลิกดูรูปใหญ่
เจียวกู้หลานจากธรรมชาติดีกับคุณ คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม
ปริมาณสารสำคัญที่เป็นสมุนไพรในเจียวกู้หลานกับการออกฤทธิ์ต่ออาการต่างๆ

เว็บไซด์อ้างอิง
เจียวกู้หลานจากธรรมชาติดีกับคุณ คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม
ใช้เจียวกู้หลานให้ได้ประโยชน์ควรศีกษาข้อมูลการใช้อย่างละเอียดท่านจะได้ประโยชน์สูงสุดตามข้อมูลงานวิจัยที่นำเสนอโดยทั่วๆ ไป ตัวอย่างเช่น
     สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ศึกษาวิจัยสมุนไพรมาเป็นเวลากว่า 20 ปี ได้พัฒนาสมุนไพรที่นำไปสู่การใช้ประโยชน์หลายชนิด ล่าสุดได้พบสมุนไพรที่มีศักยภาพสูงสามารถนำไปพัฒนาสู่การใช้ประโยชน์ในเชิง พาณิชย์ได้ดีคือ สมุนไพรเจียวกู่หลาน เจียวกู่หลาน หรือปัญจขันธ์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ Gynostemma pentaphyllum Makino วงศ์ Cucurbitaceae เป็นพืชล้มลุกชนิดเถา เลื้อยขนานกับพื้นดิน รากงอกจากข้อ เป็นประเภทแดงน้ำเต้า สมุนไพรชนิดนี้มีการใช้กันมากในประเทศญี่ปุ่นและประเทศจีน ในประเทศจีนใช้เป็นยาต้านการอักเสบ แก้ไอ ขับเสมหะ และแก้หลอดลมอักเสบชนิดเรื้อรัง ในประเทศญี่ปุ่นได้นำมาเตรียมเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ เช่น
- ผลิตภัณฑ์แก้ผมหงอก
- ดับกลิ่นตัว
- เครื่องดื่มสมุนไพร
- อาหารเสริมสุขภาพ และใช้เป็นสารปรุงแต่งในอาหารเสริมสุขภาพ มีรายงานว่า Gypenosides ซึ่งเป็นสารประเภท saponins ที่พบในสมุนไพรชนิดนี้มีฤทธิ์ลดระดับไขมันในเลือด โดยการเพิ่มค่า HDL และลดค่า LDL เสริมระบบภูมิคุ้มกันทั้งในสัตว์ทดลองและทางคลินิก ยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้องอก รักษาแผลกระเพาะอาหาร ต้านการอักเสบ แก้ปวด และยับยั้งการเกาะตัวกันของเกล็ดเลือด
        ในประเทศไทยพบเกิด เองตามธรรมชาติที่ดอยอินทนนท์ ปัจจุบันมีการปลูกที่จังหวัดเชียงใหม่บ้างแต่ยังไม่แพร่หลายนัก เพราะมีปัญหาเรื่องความแข็งแรงของต้นพันธุ์ อีกทั้งเป็นพืชล้มลุกและตายง่าย ในฤดูฝนจะหยุดเจริญเติบโต แต่ส่วนใต้ดินยังเจริญอยู่ของเจียวกู้หลาน
         กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ดำเนินการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดเจียวกู่หลานต่อ ระบบภูมิคุ้มกันแบบอาศัยเซลล์ของหนูถีบจักรที่ถูกกดภูมิคุ้มกันโดยการฉาย รังสีแถบแกมมาขนาด 4 Gy ก่อนให้สารสกัดขนาด 32 มก./กก./วัน และขนาด 160 มก./กก./วัน เป็นเวลา 10 วัน พบว่าการแบ่งตัวของลิมโฟซัยท์เมื่อถูกกระตุ้นด้วย PHA, LPS และ ConA กลับสู่สภาวะปกติในวันที่ 15 ของการศึกษา เมื่อทดสอบโดยใช้ mononuclear cells จากกระแสเลือดของคนปกติ พบว่าสารสกัดเจียวกู่หลานช่วยเพิ่มการแบ่งตัวของลิมโฟซัยท์อย่างมีนัยสำคัญ ที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 1 ng/ml ถึง 100 g/ml รวมทั้งแสดงฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์เอชไอวีโปรทีเอสในหลอดทดลองได้ผลดี เมื่อ ทดสอบความเป็นพิษทั้งพิษเฉียบพลันและพิษเรื้อรังของสารสกัดเจียวกู่หลานใน หนูขาว พบว่าสารสกัดเจียวกู่หลานมีความปลอดภัยสูงแม้ว่าจะให้สารสกัดในขนาดสูงถึง 750 มก./กก./วัน
        จากการศึกษาความปลอดภัยของสารสกัดเจียวกู่หลานในอาสาสมัครจำนวน 30 ราย โดยกำหนดเกณฑ์คัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ และเกณฑ์การเลิกการเข้าร่วมการศึกษาอย่างชัดเจน มีการสัมภาษณ์ ตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการทุก 2 สัปดาห์เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา ทางชีวเคมีของซีรัม และต่อระบบภูมิคุ้มกัน โดยมีระยะเวลาศึกษาประมาณ 3 เดือน โดยคัดเลือกอาสาสมัครตามเกณฑ์ที่กำหนด แบ่งอาสาสมัครเป็น 2 ชุดๆ ละ 15 คน ให้อาสาสมัครชุดที่ 1 รับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 1 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล) หลังอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ติดต่อกันนาน 2 เดือน และอาสาสมัครชุดที่ 2 รับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 2 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล) หลังอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ติดต่อกันนาน 2 เดือน เพื่อประเมินความปลอดภัยและประสิทธิภาพในการเสริมภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะ ผลการศึกษาพบว่า เมื่อให้อาสาสมัครรับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 1-2 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล) วันละ 2 ครั้ง ติดต่อกันนาน 2 เดือน มีความปลอดภัย และไม่พบอาการผิดปกติใดๆ ดังนั้นจึงสมควรศึกษาประสิทธิผลทางคลินิกเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพต่อ ไป 

ที่มาของข้อมูล: สถาบันวิจัยสมุนไพร  กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

หรืองานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานอื่นๆ 
     ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวม เอกสารอ้างอิง : เจียวกู้หลานพืชสมุนไพร เป็นที่สนใจของคนทั่วไป และยังเป็นที่ต้องการของคนทั่วไปเช่นกัน ในสภาวะสังคมที่ไม่ค่อยดีต่อสุขภาพของคนทั่วๆ ไปมีมลพิษสูง อาหารอุตสาหกรรมที่เน้นการเร่งการเจริญเติบโตของพืชและสัตว์มีการใช้สารเคมีสูงมาก ในภาพรวม มีการเกิดโรคที่ไม่น่าจะเกิดกับคนทั่วๆ ไปอย่างกว้างขวาง เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง เป็นกันมาก ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันที่ต้องหาวิธีป้องกันตัวเองไม่ให้เป็นโรคดังกล่าว การศึกษาให้รู้ถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคมีความสำคัญมากขึ้น ซึ่งหากเป็นโรคดังกล่าวแล้วการเข้าพบแพทย์เป็นสิ่งที่หลายคนไม่ต้องการและหลายคนจะเลือกใช้วิธีใช้สมุนไพรที่มีคุณสมบัติในการบรรเทาอาการของโรคต่างๆ เป็นเบื้องต้น ด้วยความเชื่อที่ว่า การใช้ธรรมชาติบำบัดโรคจะปลอดภัยต่ผลข้างเคียงที่มักจะเกิดจากการรักษาด้วยยาเคมีและยาปฎิชีวนะรักษาโรคทั่วไป
งานวิจัยที่ยกมาเป็นเพียงส่วนหนึ่งของ งานวิจัยเจียวกู้หลานที่ได้นำออกมานำเสนอคือ
เอกสารอ้างอิง :
1. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมเป็นหนังสือชื่อ สมุนไพรน่ารู้ 2 ปัญจขันธ์. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 2. พฤษภาคม 2548.
2. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมเป็นหนังสือชื่อ เจียวกู่หลาน (ปัญจขันธ์). จุลสารข้อมูลสมุนไพร. 2549; 23(2): 2-9
3. ข้อมูลและงานวิจัยรวบรวมชื่อ Gypenoside induces apoptosis in human Hep3B and HA22T tumour cells. Cytobios. 1999;100(393):37-48.
4. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Regulation ob Bcl-2 family molecules and activation of caspase cascade involved in gypenosides-induced apoptosis in human hepatoma cells .Cancer Lett. 2002 Sep 26;183(2):169-78.
5. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Gypenosides induced G0/G1 arrest via inhibition of cyclin E and induction of apoptosis via activation of caspases-3 and -9 in human lung cancer A-549 cells. In Vivo. 2008 Mar-Apr;22(2):215-21.
6. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Gypenosides induced apoptosis in human colon cancer cells through the mitochondria-dependent pathways and activation of caspase-3. Anticancer Res. 2006 Nov-Dec;26(6B):4313-26.
7. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Gypenosides causes DNA damage and inhibits expression of DNA repair genes of human oral cancer SAS cells. In Vivo. 2010 May-Jun;24(3):287-91.
8. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Gypenosides inhibited invasion and migration of human tongue cancer SCC4 cells through down-regulation of NFkappaB and matrix metalloproteinase-9. Anticancer Res. 2008 Mar-Apr;28(2A):1093-9.
9. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Gypenosides induced G0/G1 arrest via CHk2 and apoptosis through endoplasmic reticulum stress and mitochondria-dependent pathways in human tongue cancer SCC-4 cells. Oral Oncol. 2009 Mar;45(3):273-83. Epub 2008 Jul 31.
10. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ N-acetyltransferase is involved in gypenosides-induced N-acetylation of 2-aminofluorene and DNA adduct formation in human cervix epidermoid carcinoma cells (Ca Ski). In Vivo. 2003 May-Jun;17(3):281-8.
11. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อInmnulogic effects of Jiaogulan granule in 19 cancer patients.Zhejiang-Zhongyi Zazhi 1989; 24 (10); 449 .จุลสารข้อมูลสมุนไพร 23(2) 2549:
12. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อAntidiabetic effect of Gynostemma pentaphyllum tea in randomly assigned type 2 diabetic patients. Horm Metab Res. 2010 May;42(5):353-7. Epub 2010 Mar 8.
13. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อThe add-on effects of Gynostemma pentaphyllum on nonalcoholic fatty liver disease. Altern Ther Health Med. 2006 May-Jun;12(3):34-9.
14. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Chronic toxicity of Gynostemma pentaphyllum. Fitoterapia. 2004;75(6):539-551
  งานวิจัยของสมุนไพรเจียวกู้หลานทำให้เราได้ทราบว่า สารสำคัญกลุ่ม Gypenosides พบมากในเจียวกู้หลานมากกว่า 82 ชนิด ล้วนมีส่วนสำคัญให้ภูมิต้านทานร่างกายมีความแข็งแรงเพื่อมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันการเกิดและช่วยร่างกายให้แข็งแรงส่งผลให้ภูมิคุ้มกันร่างกายทำการรักษาโรคได้
 เจียวกู้หลาน มีอีกชื่อว่า “ปัญจขันธ์” ได้รับคัดเลือกเป็นสมุนไพรแห่งปี 2548 จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เจียวกู้หลาน มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Gynostemma pentaphyllum พืชสมุนไพรชนิดเถา มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเอเชียตะวันออก พบที่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย เนปาล ศรีลังกา พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
 เป็นสมุนไพรท้องถิ่นของแต่ละถิ่น การที่เจียวกู้หลานขึ้นในแต่ละถิ่นทำให่เจียวกู้หลานต่างกันไปตามแหล่งกำเนิด  มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู่หลาน หรือปัญจขันธ์ หลาย ๆ ด้าน ซึ่งสรุปได้ดังนี้
 การวิจัยเจียวกู้หลานในสัตว์ทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยลดไขมันในเลือดในหนูขาวสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยลดน้ำตาลในเลือด ในหนูขาวสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยลดการเกิดเส้นเลือดหัวใจหดตัว ในหนูถีบจักรสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยลดการขาดเลือดเลี้ยงสมองในกระต่ายสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยปกป้องตับจากสารพิษ acetaminophen ในหนูขาวสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยลดการอักเสบ ในหนูขาวสัตว์ทดลองในห้องทดลองที่เหนี่ยวนำให้อุ้งเท้าอักเสบ
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยขยายหลอดลม ในหนูตะเภาสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยยับยั้ง และทำลาย มะเร็งหลายชนิด ได้แก่ มะเร็งกระพุ้งแก้ม หนูแฮมสเตอร์สัตว์ทดลองในห้องทดลอง มะเร็งตับ ของหนูถีบจักรสัตว์ทดลองในห้องทดลอง มะเร็งหลอดอาหารของหนูขาวสัตว์ทดลองในห้องทดลอง และ มะเร็งช่องท้องของหนูถีบจักรสัตว์ทดลองในห้องทดลอง เพิ่มภูมิต้านทานของร่างกาย ในหนูสัตว์ทดลองในห้องทดลองที่เป็นมะเร็ง

 การวิจัยใน คน อาสาสมัครที่ต้องการเป็นผู้ทดสอบสรรพคุณเจียวกู้หลาน
 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็ง มีงานวิจัยในห้องทดลองของเจียวกู้หลานให้ฤทธิต้านมะเร็ง ของ เจียวกู้หลาน กับ เซลล์มะเร็งของมนุษย์ ที่ได้เพาะเลี้ยงไว้ หลายชนิดมีรายงานว่า
 - ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งตับ สาร Gypenosides ในเจียวกู้หลาน สามารถยับยั้งการแบ่งตัว และทำลาย เซลล์มะเร็งตับ Hep3B HA22T และ Huh-7 cell lines ของคนได้จริง ด้วยกลไกที่ชัดเจน
 - ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งปอด สาร Gypenosides สามารถทำลายเซลล์มะเร็งปอด human lung cancer A-549 ของคนได้จริง ด้วยกลไก รบกวนการทำงานของ โปรตีน caspases-3 and -9
 - ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งลำไส้ใหญ่ สารGypenosides ในเจียวกู้หลาน สามารถทำลาย เซลล์มะเร็งลำไส้ลำไส้ใหญ่ของมนุษย์ human colon cancer colo 205 cells ด้วยการรบกวนโปรตีน
 และเหนี่ยวนำให้เกิดการทำลายของเซลล์ ( apoptosis ) ได้จริง
 - ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งลิ้น สาร Gypenosides ในเจียวกู้หลาน สามารถทำลายเซลล์มะเร็ง ลิ้น human oral cancer SAS cells ของคนได้จริงด้วยกลไกของการยับยั้งการแสดงของ  DNA repair genes และยังสามารถ ยับยั้งการลุกลามแพร่กระจาย ของมะเร็งลิ้นอีกชนิดคือ human tongue cancer SCC4 ของคนได้จริง ด้วยการยับยั้งการแบ่งตัวและทำลายเซลล์มะเร็ง
 ( apoptosis ) ด้วยการรบกวนการทำงานของโปรตีน
 - ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งปากมดลูก สาร Gypenosides ในเจียวกู้หลาน มีฤทธิ์ต้าน มะเร็งปากมดลูก
 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานปรับสมดุลเพิ่มภูมิต้านทานในร่างกายได้จากการใช้สมุนไพรเจียวกู้หลาน  มีงานวิจัยใช้สมุนไพรเจียวกู้หลานในผู้ป่วยมะเร็ง 19 คน โดยให้รับประทานส่วนสกัดซาโปนินจากเจียวกู้หลานในขนาด gypenoside 240 มิลลิกรัม ต่อวัน เป็นเวลา นาน 1 เดือน โดยเลือกในช่วงเวลา ที่ ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด พบว่า ผู้ป่วย 10 คนดีขึ้นอย่างชัดเจน ผู้ป่วย 7 คนอาการดีขึ้น ในภาพรวมของการทดลองได้ผลดี 89.5% และ การเพิ่มจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นในผู้ป่วย 17 คน แต่อีก 2 คนจำนวนเม็ดเลือดขาวลดลง ระดับอิมมูโนกลอบูลินในเลือดอยู่ในระดับปกติ และระดับ IgC ในเลือดลดลง  และไม่มีผลข้างเคียงใด ๆ
 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานปรับสมดุลลดระดับน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน
 มีงานวิจัย ในผู้ป่วยเบาหวาน Type 2 (ซึ่งเป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่พบบ่อยที่สุด) โดยดื่ม ชาเจียวกู้หลาน พบว่า การบริโภคเจียวกู้หลานในปริมาณ 6 กรัมต่อวัน เป็นเวลา 12 สัปดาห์ สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ ไม่มีอาการน้ำตาลต่ำหรือผลข้างเคียงอื่นใด

 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานปรับสมดุลในผู้ที่มีไขมันเกาะตับโดยใช้สมุนไพรเจียวกู้หลาน
 การให้สารสกัดเจียวกู้หลาน ในปริมาณ 80 ซีซี ต่อวัน ในผู้ป่วย ที่ไม่ได้ดื่มแอลกอฮอล์ แต่มีภาวะไขมันเกาะตับ โดยแบ่งเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มควบคุมคือไม่ได้รับ สารสกัดเจียวกู้หลาน และกลุ่มที่ได้สารสกัดเจียวกู้หลานเป็นเวลาสี่เดือน กลุ่มที่ได้รับ สารสกัดเจียวกู้หลาน มีค่าระดับของ ความอ้วน ( BMI ) เอนไซม์ตับ ( SGOT, SGPT ) และ อินซูลิน ลดลงไปในแนวทางที่ดีกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับสารสกัด ทั้งสองกลุ่ม มีค่าไขมัน เกาะตับลดลง ประโยชน์ในผู้ป่วย

 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานจากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีจากสมุนไพรเจียวกู้หลาน
 ข้อมูลการวิจัยของวิจัยชาวจีนและ ญี่ปุ่นพบว่า เจียวกู้หลาน มีสารสำคัญอยู่หลายชนิดที่พบมาก เรียกกันทั่วไปว่า Gypenosides เป็นสารจำพวก Saponin ซึ่งมีอยู่ไม่น้อยกว่า 80 ชนิด Gypenosides อีก 11 ชนิด ซึ่งมีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับ Ginsenosides ที่พบในโสม
 ซาโปนิน ที่พบใน เจียวกู้หลาน มีจำนวน 82 ชนิด แต่ซาโปนินที่พบในโสมมีเพียง 28 ชนิด ในจำนวนนี้มี 4 ชนิดที่เหมือนกัน ได้แก่ Gypenosides Rb1 , Ginsenosides Rb3, Ginsenoside Rd และ Ginsenoside F3 จะเห็นได้ว่า เจียวกู่หลาน กับโสม มีสาระสำคัญทีคล้ายกัน อยู่หลายตัว

 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานจากการศึกษาความเป็นพิษในสมุนไพรเจียวกู้หลาน
 สารสกัดน้ำของเจียวกู้หลาน เมื่อนำมาทดสอบความเป็นพิษเรื้อรังในหนูขาวในห้องทดลอง โดยแบ่งหนูขาวออกเป็น 5 กลุ่ม และให้กินสารสกัดของเจียวกู่หลานในขนาด 6, 30, 150 และ 750 มก./กก./วัน
 นาน 6 เดือน และกลุ่มควบคุมได้รับสารสกัดขนาด 10 มล./กก. พบว่าในทุกกลุ่มการทดลองไม่พบพิษหรือผลข้างเคียงใด ๆ (ค่าชีวเคมีในเลือดปกติลักษณะทางพยาธิสภาพอวัยวะภายในปกติ) นอกจากนี้จากการศึกษาความปลอดภัยของสารสกัดเจียวกู่หลานที่ศึกษาในอาสาสมัคร 30 ราย โดยแบ่งอาสาสมัครออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ให้รับประทานสารสกัดเจียวกู้หลานแคปซูลครั้งละ 1 แคปซูล ประกอบด้วยสาร gypenoside 40 มก./แคปซูล หลังอาหารวันละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น) ติดต่อกันนาน 2 เดือน กลุ่มที่ 2 รับประทานสารสกัดเจียวกู้หลานแคปซูลครั้งละ 2 แคปซูล หลังอาหารวันละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น) นาน 2 เดือน พบว่าจากการศึกษาไม่พบอาการผิดปกติใด ๆ ในอาสาสมัคร

 ข้อห้ามของ เจียวกู้หลาน
 สามารถรับประทานได้ทุกคน ในสตรีมีครรภ์ควรงดทานเจียวกู้หลาน 1 เดือนก่อนคลอดบุตร
   การใช้เจียวกู้หลานมีการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์หลากหลายรูปแบบ การเลือกใช้จึงควรคำนึงถึงการได้รับปริมาณสารสำคัญในเจียวกู้หลานเพื่อให้ได้ผลสูลสุดในการใช้ มีค่าเทียบเคียงการใช้สารสำคัญของเจียวกู้หลาน   
 เจียวกู้หลานจากผลิตภัณฑ์เจียวกู้หลานฟอร์ยูผลิตจากเจียวกู้หลานธรรมชาติหรือเจียวกุ้หลานป่า
 คัดเลือกเจียวกู้หลานจากธรรมชาติหรือเจียวกู้หลานป่าจากพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์และมีค่าของความชื้นต่ำ มีความแห้งของอากาศสูงเพื่อให้ได้สมุนไพรที่เข้มข้นโดยวิธีการธรรมชาติ ไม่ใช้สารเคมีใดๆ ในการผลิตจึงมั่นใจว่าผลิตภัณฑ์เจียวกู้หลานจากเจียวกู้หลานฟอร์ยูปลอดภัยต่อคุณ ผลิตภัณฑ์มีไห้เลือกตามความต้องการ
ขอบคุณข้อมูล เจียวกู้หลานป่าจากเจียวกู้หลานฟอร์ยู

วันศุกร์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

เจียวกู้หลานช่วยให้แข็งแรงปราศจากโรคอย่างไรเทียบกับสมุนไพรอื่น ๆ

เจียวกู้หลานจากธรรมชาติดีกับคุณอย่างไร คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม
เจียวกู้หลานดีต่อคุณ เจียวกู้หลานธรรมชาติหรือเจียวกู้หลานป่า
 เจียวกู้หลานธรรมชาติให้คุณค่าสมุนไพรครบถ้วนกว่าน่าใช้กว่าราคาถูกกว่า ปลอดภัยจากสารเคมีเจือปน เจียวกู้หลานธรรมชาติจากยอดดอยของเชียงใหม่ ให้ประโยชน์ครบเครื่องกว่า ใช้บำรุงร่างกาย เพิ่มความแข็งแรงให้อวัยวะ ใช้เสริมยาหมอให้การรักษาของหมอดีขึ้นเหมาะสำหรับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพที่อยู่ในการดูแลของแพทย์ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในหลอดเลือดสูง หลอดเลือดตีบอุดตัน สมุนไพรในเจียวกู้หลานมีคุณสมบัติเป็นสารอาหารเสริมสามารถใช้คู่กับยาหมอได้ดีไม่ขัดแย้ง ไม่ลดหรือทำลายสรรพคุณของยาหมอเห็นผลการรักษาของหมอได้ชัดเจน สมุนไพรในเจียวกู้หลานธรรมชาติเหมาะสำหรับผู้ที่รักสุขภาพใช้ป้องกันเสริมสุขภาพให้แข็งแรงขึ้น ความเสื่อมของอวัยวะและขัดขวางการทำงานของอนุมูลอิสระ ปลอดภัยกว่าเจียวกู้หลานทั่วๆ ไป เพราะเป็นเจียวกู้หลานจากธรรมชาติไม่ใช้สารเคมีปรุงแต่งใดๆ เช่น สารเคมีป้องกันเชื้อรา สารเคมีป้องกันการบูดเน่า สารปรุงแต่งสี รสชาด และกลิ่น อันเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ค่าของเม็ดเลือดต่ำลง เจียวกู้หลานธรรมชาติให้ประโยชน์ครบในตัวของสมุนไพรที่คุณไม่จำเป็นต้องเติมหรือเสริมสมุนไพรใดๆให้การจ่ายเงินซื้อผลิตภัณฑ์ต้องเพิ่มขึ้นไป เช่นนำเจียวกู้หลานมาผสมกับสมุนไพรอื่น อาทิเช่น ชามิกซ์ ต่างๆ ทำให้คุณต้องจ่ายเงินมากขึ้นได้ผลเท่ากัน ชามิกซ์ส่วนใหญ่มีเจียวกู้หลานเป็นส่วนประกอบ

เจียวกู้หลานมีโอสถสารที่ช่วยเรื่องโรคเบาหวานได้ครบถ้วนกว่าสมุนไพรอื่นๆ ในด้านของการบำรุงหลังจากบำบัดแล้วอวัยวะที่เสื่อมจะถูกฟื้นฟูดีกว่าสมุนไพรตัวอื่นๆ คลิกเพื่อดูเพิ่มเติมสมุนไพรร้กษาเบาหวานต้วอื่น ๆ

คุณสมบัติของสมุนไพรที่ใช้ร้กษาเบาหวาน  ดูข้อมูลรวม
   ข้อมูลที่คนทั่วๆไป มักจะสืบค้นเมื่อได้รับการถ่ายทอดมา หากเราเป็นผู้ที่มีการวิเคราะห์เราควรนำข้อมูลมาศึกษาก่อนที่เราจะตัดสินใจใชัสมุนไพรใด สมุนไพรหนึ่ง
การรักษาโรคต่างๆ หมอจะมีกระบวนการจัดการ เป็นขั้นเป็นตอน เป็นศิลปะการรักรักดังนั้นเรามักจะได้เห็นที่คลีนิคของคุณหมอกับคำว่า ประกอบโรคศิลป ต่อท้ายเสมอ ๆ
การทำให้โรคใดโรคหนึ่งหาย หลักการตามการรักษาของคุณหมอจะมีหลักการพอสังเขบคือ
1. หยุดอาการที่ทำให้เจ็บปวด ณ ขณะนั้น
2. เมื่อวินิจฉัยรู้ว่าเป็นโรคอะไรก็จะให้ยารักษาโรคนั้นๆ
3. ให้ยาป้องกันอาการข้างเคียงของโรค
4. ให้ยาป้องกันอาการที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
เมื่อทำทั้ง 4 ข้อแล้ว หมอที่มีประสบการณ์ชำนาญการจะให้เราฟื้นฟูอวัยวะที่เสี่อมหรือเสียหายควบคู่กันไป เป็นการรักษาแบบครบวงจร ดังนั้นท่านอย่าได้สงสัยเลยว่า ทำไมคุณหมอจึงจ่ายยาให้เราทานหลายชนิด เนื่องมาจากเหตุผลที่กล่าวมา
สมุนไพร สามารถรักษาโรคได้หรือไม่
     ในสมัยที่โลกของเรายังไม่มีวิวัฒนาการเจริญรุ่งเรื่องเหมือนปัจจุบัน หมอพื้นบ้านหรือหมอแผนไทยจะเป็นผู้มีประสบการและความชำนาญในการหาสมุนไพรมาใช้แล้วเก็บข้อมูลเอาไว้ จากนั้นมีการรวบรวมเป็นคัมภีร์แพทย์แผนไทยมากมาย ยาแผนปัจจุบันก็ได้มีการนำข้อมูลสมุนไพรไปต่อยอดจนได้ยาแผนปัจจุบันที่เราใช้กันทุกวันนี้ ในที่นี้เพื่อเป็นตัวอย่างเรื่องสมุนไพรกับการรักษาโรคขอนำโรคที่กำลังเป็นที่วิตกกังวลของคนทั่วๆ ไปนำมาเป็นตัวอย่างให้ศึกษากันและจะใช้สมุนไพรใดจัดการกับโรคนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โรคเบาหวาน
     ต้นตอของโรคคือตับอ่อนผลิตอินซูลินที่นำนำ้ตาลเข้าเซลไม่ได้ตามจำนวนคือน้อยกว่า จึงทำให้น้ำตาลค้างอยู่ในกระแสเลือดมาก เมื่อร่างกายได้น้ำตาลไม่พอที่จะสร้างพลังงานจึงเกิดอาการอ่อนเพลีย คนทั่วๆ ไป ก็จะใช้สมุนไพรมาช่วยให้นำ้ตาลเข้าเซลดีขึ้นแต่ไม่ได้เป็นการรักษาเบาหวานที่ต้นตอดังนั้นเมื่อใช้สมุนไพรไปสักระยะก็จะรู้ว่าโรคมันไม่หายก็จะเปลี่ยนไปใช้สมุนไพรอื่นๆต่อไปจนกว่าจะพบสมุนไพรที่รักษาต้นตอของโรค
     คุณสามารถใช้คุณประโยชน์จากเจียวกู้หลานคู่ไปกับการรักษาของหมอแผนปัจจุบัน โดยไม่เสียโอกาสทางการรักษา การลดลงของอาการที่ผิดปกติที่คุณเป็นอยู่จะเห็นผลชัดเจนจากค่าที่คุณหมอได้บันทึกเอาไว้และเมื่ออาการต่างๆ ดีขึ้น คุณหมอจะลดยาลงและคุณหมอจะสั่งให่คุณหยุดยาเมื่ออาการผิดปกติได้หายไป นับว่าคุณได้ประโยชน์ที่คุ้มค่าต่อร่างกายของคุณ

เจียวกู้หลานจากธรรมชาติดีกับคุณอย่างไร คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม
แนะนำสมุไพรเจียวกู้หลานช่วยให้ร่างกายแข็งแรง ปรับสมดุลเทียบกับสมุนไพรอื่นๆดีกว่า
     เจียวกู้หลาน โดยเฉพาะเจียวกู้หลานจากธรรมชาติ ดีกว่าเจียวกู้หลานปลูก หรือนำเข้าจากต่างประเทศ ให้คุณค่าสมุนไพร สองทาง คือ บำรุงร่างกายเหมือนโสม และ บำบัดโรคหรืออาการผิดปกติของร่างกาย เช่น สมุนไพรในเจียวกู้หลานออกฤทธิ์โดยตรงกับอาการเบาหวาน ความดัน โรคหัวใจ และอื่นๆ ตามหลักการใช้สมุนไพรโปรดใช้วิจราณญาณและข้อมูลอ้างอิง
     สาเหตุการเกิดโรคเบาหวาน เบาหวานเป็นอาการที่เกิดจากตับอ่อนผลิตอินซูลินไม่ได้ตามปริมาณที่ร่างกายต้องการใช้ จึงทำให้น้ำตาลเหลือในเลือดสูงและหากไม่รักษาอาการของโรคจะเกิดผลข้างเคียงส่งผลเสียถึงอวัยวะอื่นๆ เช่น แผลเน่าตามแขนขา และหายยาก บ้างรักษาไม่ได้ต้องตัดอวัยวะทิ้งก็มีเป็นต้น  ซึ่งยาหมอก็ไม่ได้รักษาให้หายแต่เป็นการหยุดอาการเท่านั้น
ตับอ่อน
รูปตับอ่อนที่ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนอินซูลินเจียวกู้หลานจะเข้าไปบำรุงให้สมบูรณ์




















   
    เบาหวานกินยาเคมีนานๆจะจบลงด้วยการฟอกไต การเสื่อมของอวัยวะจากเบาหวานจะสะสมไปเรื่อยๆ จนกระทั่งรักษาไม่ได้ก็จะต้องใช้กระบวนการอิ่นๆ เข้ามาร่วมด้วยช่วยกัน เช่น การฟอกไต ด้วยเตรื่องฟอกไตเที่ยม ดูระบบการทำงาน ( เหตุที่ไตเสื่อมเนื่องมาจากการทานยาหมอเพื่อรักษาโรค สารเคมีในยาจะถูกนำมาขับทิ้งที่ไต รับสารเคมีเป็นประจำจึงเสื่อมตามธรรมชาติ จึงต้องพึ่งเครื่องฟอกเพื่อเอาของเสียในร่างกายออกไป )
เบาหวานเป็นแล้วต้องฟอกไต
เครื่องฟอกไต จำเป็นสำหรับผู้ที่ไตวาย
ต้องทำเส้นก่อนที่จะใช้เครื่องฟอกไต ก่อนที่จะทำการฟอกไตด้วนเครื่องฟอกไตเทียม ผู้ป่วยต้องไปทำเส้นกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ มีค่าใช้จ่ายสูงมาก
ฟอกไต
แล้วจึงมาต่อเข้ากับเครื่องฟอกไตเทียม
ฟอกไตเดีอนละครั้ง

ฟอกไตอาทิตย์ละครั้ง

ระยะสุดท้ายต้องฟอกทุกวัน

ค่าฟอกไต

ผู้ป่วยฟอกไตนานๆ อาจมีปัญหาเรื่องการเงิน

ค่าฟอกไตแพงมาก


เจียวกู้หลานจากธรรมชาติดีกับคุณ คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม
เพื่อให้เข้าใจมากขึ้นดูตัวอย่างงานวิจัยมาแสดงเพื่อให้เข้าใจ

การใช้เจียวกู้หลานเพื่อเป็นยา มีความจำเป็นต้องอาศัยความเข้มข้นของโอสถสารในการบำบัดสายพันธุ์เจียวกู้หลานที่จะนำมาใช้ แนะนำควรเป็นเจียวกู้หลานธรรมชาติจากป่าจะให้โอสถสารสูงกว่าเจียวกู้หลานปลูกและปลอดภัยกว่าเจียวกู้หลานนำเข้าจากต่างประเทศ เราสามารถนำเจียวกู้หลานไปเป็นทางเลือกในการช่วยฟื้นฟูร่วมรักษา โรคควบคู่กับการรักษาของแพทย์แผนปัจจุบัน ฤทธิ์ของโอสถสารในเจียวกู้หลานจะทำหน้าที่คนละส่วนกับยาหมอ ไม่ไปเสริมฤทธฺ์หรือลดคุณสมบัติของยาใดๆ ทั้งสิ้น 
และปริมาณการใช้เจียวกู้หลานขออ้างอิงปริมาณการใช้เจียวกู้หลานเองซึ่งค่าโดยเฉลี่ยที่ทำให้เจียวกู้หลานออกฤทธิ์และอ้างอิงตามผลงานการวิจัย เจียวกู้หลานที่ใช้จะเป็นเจียวกู้หลานจากธรรมชาติ หากคุณใช้เจียวกู้หลานปลูกจะต้องใช้ในปริมาณมากกว่า
ปริมาณสารสำคัญที่เป็นสมุนไพรในเจียวกู้หลานกับการออกฤทธิ์ต่ออาการต่างๆ
คลิกดูรูปใหญ่
เจียวกู้หลานจากธรรมชาติดีกับคุณ คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม
ปริมาณสารสำคัญที่เป็นสมุนไพรในเจียวกู้หลานกับการออกฤทธิ์ต่ออาการต่างๆ

เว็บไซด์อ้างอิง
เจียวกู้หลานจากธรรมชาติดีกับคุณ คลิกเพื่อดูเพิ่มเติม
ใช้เจียวกู้หลานให้ได้ประโยชน์ควรศีกษาข้อมูลการใช้อย่างละเอียดท่านจะได้ประโยชน์สูงสุดตามข้อมูลงานวิจัยที่นำเสนอโดยทั่วๆ ไป ตัวอย่างเช่น
     สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ศึกษาวิจัยสมุนไพรมาเป็นเวลากว่า 20 ปี ได้พัฒนาสมุนไพรที่นำไปสู่การใช้ประโยชน์หลายชนิด ล่าสุดได้พบสมุนไพรที่มีศักยภาพสูงสามารถนำไปพัฒนาสู่การใช้ประโยชน์ในเชิง พาณิชย์ได้ดีคือ สมุนไพรเจียวกู่หลาน เจียวกู่หลาน หรือปัญจขันธ์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ Gynostemma pentaphyllum Makino วงศ์ Cucurbitaceae เป็นพืชล้มลุกชนิดเถา เลื้อยขนานกับพื้นดิน รากงอกจากข้อ เป็นประเภทแดงน้ำเต้า สมุนไพรชนิดนี้มีการใช้กันมากในประเทศญี่ปุ่นและประเทศจีน ในประเทศจีนใช้เป็นยาต้านการอักเสบ แก้ไอ ขับเสมหะ และแก้หลอดลมอักเสบชนิดเรื้อรัง ในประเทศญี่ปุ่นได้นำมาเตรียมเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ เช่น
- ผลิตภัณฑ์แก้ผมหงอก
- ดับกลิ่นตัว
- เครื่องดื่มสมุนไพร
- อาหารเสริมสุขภาพ และใช้เป็นสารปรุงแต่งในอาหารเสริมสุขภาพ มีรายงานว่า Gypenosides ซึ่งเป็นสารประเภท saponins ที่พบในสมุนไพรชนิดนี้มีฤทธิ์ลดระดับไขมันในเลือด โดยการเพิ่มค่า HDL และลดค่า LDL เสริมระบบภูมิคุ้มกันทั้งในสัตว์ทดลองและทางคลินิก ยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้องอก รักษาแผลกระเพาะอาหาร ต้านการอักเสบ แก้ปวด และยับยั้งการเกาะตัวกันของเกล็ดเลือด
        ในประเทศไทยพบเกิด เองตามธรรมชาติที่ดอยอินทนนท์ ปัจจุบันมีการปลูกที่จังหวัดเชียงใหม่บ้างแต่ยังไม่แพร่หลายนัก เพราะมีปัญหาเรื่องความแข็งแรงของต้นพันธุ์ อีกทั้งเป็นพืชล้มลุกและตายง่าย ในฤดูฝนจะหยุดเจริญเติบโต แต่ส่วนใต้ดินยังเจริญอยู่ของเจียวกู้หลาน
         กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ดำเนินการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดเจียวกู่หลานต่อ ระบบภูมิคุ้มกันแบบอาศัยเซลล์ของหนูถีบจักรที่ถูกกดภูมิคุ้มกันโดยการฉาย รังสีแถบแกมมาขนาด 4 Gy ก่อนให้สารสกัดขนาด 32 มก./กก./วัน และขนาด 160 มก./กก./วัน เป็นเวลา 10 วัน พบว่าการแบ่งตัวของลิมโฟซัยท์เมื่อถูกกระตุ้นด้วย PHA, LPS และ ConA กลับสู่สภาวะปกติในวันที่ 15 ของการศึกษา เมื่อทดสอบโดยใช้ mononuclear cells จากกระแสเลือดของคนปกติ พบว่าสารสกัดเจียวกู่หลานช่วยเพิ่มการแบ่งตัวของลิมโฟซัยท์อย่างมีนัยสำคัญ ที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 1 ng/ml ถึง 100 g/ml รวมทั้งแสดงฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์เอชไอวีโปรทีเอสในหลอดทดลองได้ผลดี เมื่อ ทดสอบความเป็นพิษทั้งพิษเฉียบพลันและพิษเรื้อรังของสารสกัดเจียวกู่หลานใน หนูขาว พบว่าสารสกัดเจียวกู่หลานมีความปลอดภัยสูงแม้ว่าจะให้สารสกัดในขนาดสูงถึง 750 มก./กก./วัน
        จากการศึกษาความปลอดภัยของสารสกัดเจียวกู่หลานในอาสาสมัครจำนวน 30 ราย โดยกำหนดเกณฑ์คัดเลือกอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการ และเกณฑ์การเลิกการเข้าร่วมการศึกษาอย่างชัดเจน มีการสัมภาษณ์ ตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการทุก 2 สัปดาห์เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา ทางชีวเคมีของซีรัม และต่อระบบภูมิคุ้มกัน โดยมีระยะเวลาศึกษาประมาณ 3 เดือน โดยคัดเลือกอาสาสมัครตามเกณฑ์ที่กำหนด แบ่งอาสาสมัครเป็น 2 ชุดๆ ละ 15 คน ให้อาสาสมัครชุดที่ 1 รับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 1 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล) หลังอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ติดต่อกันนาน 2 เดือน และอาสาสมัครชุดที่ 2 รับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 2 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล) หลังอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ติดต่อกันนาน 2 เดือน เพื่อประเมินความปลอดภัยและประสิทธิภาพในการเสริมภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะ ผลการศึกษาพบว่า เมื่อให้อาสาสมัครรับประทานสารสกัดเจียวกู่หลานแคปซูลครั้งละ 1-2 แคปซูล (gypenosides 40 มก./แคปซูล) วันละ 2 ครั้ง ติดต่อกันนาน 2 เดือน มีความปลอดภัย และไม่พบอาการผิดปกติใดๆ ดังนั้นจึงสมควรศึกษาประสิทธิผลทางคลินิกเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพต่อ ไป 

ที่มาของข้อมูล: สถาบันวิจัยสมุนไพร  กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

หรืองานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานอื่นๆ 
     ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวม เอกสารอ้างอิง : เจียวกู้หลานพืชสมุนไพร เป็นที่สนใจของคนทั่วไป และยังเป็นที่ต้องการของคนทั่วไปเช่นกัน ในสภาวะสังคมที่ไม่ค่อยดีต่อสุขภาพของคนทั่วๆ ไปมีมลพิษสูง อาหารอุตสาหกรรมที่เน้นการเร่งการเจริญเติบโตของพืชและสัตว์มีการใช้สารเคมีสูงมาก ในภาพรวม มีการเกิดโรคที่ไม่น่าจะเกิดกับคนทั่วๆ ไปอย่างกว้างขวาง เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง เป็นกันมาก ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวันที่ต้องหาวิธีป้องกันตัวเองไม่ให้เป็นโรคดังกล่าว การศึกษาให้รู้ถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคมีความสำคัญมากขึ้น ซึ่งหากเป็นโรคดังกล่าวแล้วการเข้าพบแพทย์เป็นสิ่งที่หลายคนไม่ต้องการและหลายคนจะเลือกใช้วิธีใช้สมุนไพรที่มีคุณสมบัติในการบรรเทาอาการของโรคต่างๆ เป็นเบื้องต้น ด้วยความเชื่อที่ว่า การใช้ธรรมชาติบำบัดโรคจะปลอดภัยต่ผลข้างเคียงที่มักจะเกิดจากการรักษาด้วยยาเคมีและยาปฎิชีวนะรักษาโรคทั่วไป
งานวิจัยที่ยกมาเป็นเพียงส่วนหนึ่งของ งานวิจัยเจียวกู้หลานที่ได้นำออกมานำเสนอคือ
เอกสารอ้างอิง :
1. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมเป็นหนังสือชื่อ สมุนไพรน่ารู้ 2 ปัญจขันธ์. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 2. พฤษภาคม 2548.
2. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมเป็นหนังสือชื่อ เจียวกู่หลาน (ปัญจขันธ์). จุลสารข้อมูลสมุนไพร. 2549; 23(2): 2-9
3. ข้อมูลและงานวิจัยรวบรวมชื่อ Gypenoside induces apoptosis in human Hep3B and HA22T tumour cells. Cytobios. 1999;100(393):37-48.
4. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Regulation ob Bcl-2 family molecules and activation of caspase cascade involved in gypenosides-induced apoptosis in human hepatoma cells .Cancer Lett. 2002 Sep 26;183(2):169-78.
5. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Gypenosides induced G0/G1 arrest via inhibition of cyclin E and induction of apoptosis via activation of caspases-3 and -9 in human lung cancer A-549 cells. In Vivo. 2008 Mar-Apr;22(2):215-21.
6. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Gypenosides induced apoptosis in human colon cancer cells through the mitochondria-dependent pathways and activation of caspase-3. Anticancer Res. 2006 Nov-Dec;26(6B):4313-26.
7. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Gypenosides causes DNA damage and inhibits expression of DNA repair genes of human oral cancer SAS cells. In Vivo. 2010 May-Jun;24(3):287-91.
8. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Gypenosides inhibited invasion and migration of human tongue cancer SCC4 cells through down-regulation of NFkappaB and matrix metalloproteinase-9. Anticancer Res. 2008 Mar-Apr;28(2A):1093-9.
9. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Gypenosides induced G0/G1 arrest via CHk2 and apoptosis through endoplasmic reticulum stress and mitochondria-dependent pathways in human tongue cancer SCC-4 cells. Oral Oncol. 2009 Mar;45(3):273-83. Epub 2008 Jul 31.
10. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ N-acetyltransferase is involved in gypenosides-induced N-acetylation of 2-aminofluorene and DNA adduct formation in human cervix epidermoid carcinoma cells (Ca Ski). In Vivo. 2003 May-Jun;17(3):281-8.
11. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อInmnulogic effects of Jiaogulan granule in 19 cancer patients.Zhejiang-Zhongyi Zazhi 1989; 24 (10); 449 .จุลสารข้อมูลสมุนไพร 23(2) 2549:
12. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อAntidiabetic effect of Gynostemma pentaphyllum tea in randomly assigned type 2 diabetic patients. Horm Metab Res. 2010 May;42(5):353-7. Epub 2010 Mar 8.
13. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อThe add-on effects of Gynostemma pentaphyllum on nonalcoholic fatty liver disease. Altern Ther Health Med. 2006 May-Jun;12(3):34-9.
14. ข้อมูลและงานวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู้หลานรวบรวมชื่อ Chronic toxicity of Gynostemma pentaphyllum. Fitoterapia. 2004;75(6):539-551
  งานวิจัยของสมุนไพรเจียวกู้หลานทำให้เราได้ทราบว่า สารสำคัญกลุ่ม Gypenosides พบมากในเจียวกู้หลานมากกว่า 82 ชนิด ล้วนมีส่วนสำคัญให้ภูมิต้านทานร่างกายมีความแข็งแรงเพื่อมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันการเกิดและช่วยร่างกายให้แข็งแรงส่งผลให้ภูมิคุ้มกันร่างกายทำการรักษาโรคได้
 เจียวกู้หลาน มีอีกชื่อว่า “ปัญจขันธ์” ได้รับคัดเลือกเป็นสมุนไพรแห่งปี 2548 จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เจียวกู้หลาน มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Gynostemma pentaphyllum พืชสมุนไพรชนิดเถา มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเอเชียตะวันออก พบที่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย เนปาล ศรีลังกา พม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์
 เป็นสมุนไพรท้องถิ่นของแต่ละถิ่น การที่เจียวกู้หลานขึ้นในแต่ละถิ่นทำให่เจียวกู้หลานต่างกันไปตามแหล่งกำเนิด  มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเจียวกู่หลาน หรือปัญจขันธ์ หลาย ๆ ด้าน ซึ่งสรุปได้ดังนี้
 การวิจัยเจียวกู้หลานในสัตว์ทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยลดไขมันในเลือดในหนูขาวสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยลดน้ำตาลในเลือด ในหนูขาวสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยลดการเกิดเส้นเลือดหัวใจหดตัว ในหนูถีบจักรสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยลดการขาดเลือดเลี้ยงสมองในกระต่ายสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยปกป้องตับจากสารพิษ acetaminophen ในหนูขาวสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยลดการอักเสบ ในหนูขาวสัตว์ทดลองในห้องทดลองที่เหนี่ยวนำให้อุ้งเท้าอักเสบ
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยขยายหลอดลม ในหนูตะเภาสัตว์ทดลองในห้องทดลอง
 สมุนไพรในเจียวกู้หลานช่วยยับยั้ง และทำลาย มะเร็งหลายชนิด ได้แก่ มะเร็งกระพุ้งแก้ม หนูแฮมสเตอร์สัตว์ทดลองในห้องทดลอง มะเร็งตับ ของหนูถีบจักรสัตว์ทดลองในห้องทดลอง มะเร็งหลอดอาหารของหนูขาวสัตว์ทดลองในห้องทดลอง และ มะเร็งช่องท้องของหนูถีบจักรสัตว์ทดลองในห้องทดลอง เพิ่มภูมิต้านทานของร่างกาย ในหนูสัตว์ทดลองในห้องทดลองที่เป็นมะเร็ง

 การวิจัยใน คน อาสาสมัครที่ต้องการเป็นผู้ทดสอบสรรพคุณเจียวกู้หลาน
 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็ง มีงานวิจัยในห้องทดลองของเจียวกู้หลานให้ฤทธิต้านมะเร็ง ของ เจียวกู้หลาน กับ เซลล์มะเร็งของมนุษย์ ที่ได้เพาะเลี้ยงไว้ หลายชนิดมีรายงานว่า
 - ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งตับ สาร Gypenosides ในเจียวกู้หลาน สามารถยับยั้งการแบ่งตัว และทำลาย เซลล์มะเร็งตับ Hep3B HA22T และ Huh-7 cell lines ของคนได้จริง ด้วยกลไกที่ชัดเจน
 - ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งปอด สาร Gypenosides สามารถทำลายเซลล์มะเร็งปอด human lung cancer A-549 ของคนได้จริง ด้วยกลไก รบกวนการทำงานของ โปรตีน caspases-3 and -9
 - ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งลำไส้ใหญ่ สารGypenosides ในเจียวกู้หลาน สามารถทำลาย เซลล์มะเร็งลำไส้ลำไส้ใหญ่ของมนุษย์ human colon cancer colo 205 cells ด้วยการรบกวนโปรตีน
 และเหนี่ยวนำให้เกิดการทำลายของเซลล์ ( apoptosis ) ได้จริง
 - ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งลิ้น สาร Gypenosides ในเจียวกู้หลาน สามารถทำลายเซลล์มะเร็ง ลิ้น human oral cancer SAS cells ของคนได้จริงด้วยกลไกของการยับยั้งการแสดงของ  DNA repair genes และยังสามารถ ยับยั้งการลุกลามแพร่กระจาย ของมะเร็งลิ้นอีกชนิดคือ human tongue cancer SCC4 ของคนได้จริง ด้วยการยับยั้งการแบ่งตัวและทำลายเซลล์มะเร็ง
 ( apoptosis ) ด้วยการรบกวนการทำงานของโปรตีน
 - ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานให้ฤทธิ์ต้านมะเร็งปากมดลูก สาร Gypenosides ในเจียวกู้หลาน มีฤทธิ์ต้าน มะเร็งปากมดลูก
 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานปรับสมดุลเพิ่มภูมิต้านทานในร่างกายได้จากการใช้สมุนไพรเจียวกู้หลาน  มีงานวิจัยใช้สมุนไพรเจียวกู้หลานในผู้ป่วยมะเร็ง 19 คน โดยให้รับประทานส่วนสกัดซาโปนินจากเจียวกู้หลานในขนาด gypenoside 240 มิลลิกรัม ต่อวัน เป็นเวลา นาน 1 เดือน โดยเลือกในช่วงเวลา ที่ ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด พบว่า ผู้ป่วย 10 คนดีขึ้นอย่างชัดเจน ผู้ป่วย 7 คนอาการดีขึ้น ในภาพรวมของการทดลองได้ผลดี 89.5% และ การเพิ่มจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นในผู้ป่วย 17 คน แต่อีก 2 คนจำนวนเม็ดเลือดขาวลดลง ระดับอิมมูโนกลอบูลินในเลือดอยู่ในระดับปกติ และระดับ IgC ในเลือดลดลง  และไม่มีผลข้างเคียงใด ๆ
 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานปรับสมดุลลดระดับน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน
 มีงานวิจัย ในผู้ป่วยเบาหวาน Type 2 (ซึ่งเป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่พบบ่อยที่สุด) โดยดื่ม ชาเจียวกู้หลาน พบว่า การบริโภคเจียวกู้หลานในปริมาณ 6 กรัมต่อวัน เป็นเวลา 12 สัปดาห์ สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ ไม่มีอาการน้ำตาลต่ำหรือผลข้างเคียงอื่นใด

 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานปรับสมดุลในผู้ที่มีไขมันเกาะตับโดยใช้สมุนไพรเจียวกู้หลาน
 การให้สารสกัดเจียวกู้หลาน ในปริมาณ 80 ซีซี ต่อวัน ในผู้ป่วย ที่ไม่ได้ดื่มแอลกอฮอล์ แต่มีภาวะไขมันเกาะตับ โดยแบ่งเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มควบคุมคือไม่ได้รับ สารสกัดเจียวกู้หลาน และกลุ่มที่ได้สารสกัดเจียวกู้หลานเป็นเวลาสี่เดือน กลุ่มที่ได้รับ สารสกัดเจียวกู้หลาน มีค่าระดับของ ความอ้วน ( BMI ) เอนไซม์ตับ ( SGOT, SGPT ) และ อินซูลิน ลดลงไปในแนวทางที่ดีกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับสารสกัด ทั้งสองกลุ่ม มีค่าไขมัน เกาะตับลดลง ประโยชน์ในผู้ป่วย

 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานจากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีจากสมุนไพรเจียวกู้หลาน
 ข้อมูลการวิจัยของวิจัยชาวจีนและ ญี่ปุ่นพบว่า เจียวกู้หลาน มีสารสำคัญอยู่หลายชนิดที่พบมาก เรียกกันทั่วไปว่า Gypenosides เป็นสารจำพวก Saponin ซึ่งมีอยู่ไม่น้อยกว่า 80 ชนิด Gypenosides อีก 11 ชนิด ซึ่งมีสูตรโครงสร้างคล้ายคลึงกับ Ginsenosides ที่พบในโสม
 ซาโปนิน ที่พบใน เจียวกู้หลาน มีจำนวน 82 ชนิด แต่ซาโปนินที่พบในโสมมีเพียง 28 ชนิด ในจำนวนนี้มี 4 ชนิดที่เหมือนกัน ได้แก่ Gypenosides Rb1 , Ginsenosides Rb3, Ginsenoside Rd และ Ginsenoside F3 จะเห็นได้ว่า เจียวกู่หลาน กับโสม มีสาระสำคัญทีคล้ายกัน อยู่หลายตัว

 ผลงานวิจัยรายงายว่าเจียวกู้หลานจากการศึกษาความเป็นพิษในสมุนไพรเจียวกู้หลาน
 สารสกัดน้ำของเจียวกู้หลาน เมื่อนำมาทดสอบความเป็นพิษเรื้อรังในหนูขาวในห้องทดลอง โดยแบ่งหนูขาวออกเป็น 5 กลุ่ม และให้กินสารสกัดของเจียวกู่หลานในขนาด 6, 30, 150 และ 750 มก./กก./วัน
 นาน 6 เดือน และกลุ่มควบคุมได้รับสารสกัดขนาด 10 มล./กก. พบว่าในทุกกลุ่มการทดลองไม่พบพิษหรือผลข้างเคียงใด ๆ (ค่าชีวเคมีในเลือดปกติลักษณะทางพยาธิสภาพอวัยวะภายในปกติ) นอกจากนี้จากการศึกษาความปลอดภัยของสารสกัดเจียวกู่หลานที่ศึกษาในอาสาสมัคร 30 ราย โดยแบ่งอาสาสมัครออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ให้รับประทานสารสกัดเจียวกู้หลานแคปซูลครั้งละ 1 แคปซูล ประกอบด้วยสาร gypenoside 40 มก./แคปซูล หลังอาหารวันละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น) ติดต่อกันนาน 2 เดือน กลุ่มที่ 2 รับประทานสารสกัดเจียวกู้หลานแคปซูลครั้งละ 2 แคปซูล หลังอาหารวันละ 2 ครั้ง (เช้า-เย็น) นาน 2 เดือน พบว่าจากการศึกษาไม่พบอาการผิดปกติใด ๆ ในอาสาสมัคร

 ข้อห้ามของ เจียวกู้หลาน
 สามารถรับประทานได้ทุกคน ในสตรีมีครรภ์ควรงดทานเจียวกู้หลาน 1 เดือนก่อนคลอดบุตร
   การใช้เจียวกู้หลานมีการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์หลากหลายรูปแบบ การเลือกใช้จึงควรคำนึงถึงการได้รับปริมาณสารสำคัญในเจียวกู้หลานเพื่อให้ได้ผลสูลสุดในการใช้ มีค่าเทียบเคียงการใช้สารสำคัญของเจียวกู้หลาน   
 เจียวกู้หลานจากผลิตภัณฑ์เจียวกู้หลานฟอร์ยูผลิตจากเจียวกู้หลานธรรมชาติหรือเจียวกุ้หลานป่า
 คัดเลือกเจียวกู้หลานจากธรรมชาติหรือเจียวกู้หลานป่าจากพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์และมีค่าของความชื้นต่ำ มีความแห้งของอากาศสูงเพื่อให้ได้สมุนไพรที่เข้มข้นโดยวิธีการธรรมชาติ ไม่ใช้สารเคมีใดๆ ในการผลิตจึงมั่นใจว่าผลิตภัณฑ์เจียวกู้หลานจากเจียวกู้หลานฟอร์ยูปลอดภัยต่อคุณ ผลิตภัณฑ์มีไห้เลือกตามความต้องการ
ขอบคุณข้อมูล เจียวกู้หลานป่าจากเจียวกู้หลานฟอร์ยู